1 / 132

ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง สำหรับหน่วยงานภาครัฐ

ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง สำหรับหน่วยงานภาครัฐ. สำนักงานคลังเขต 2 10 มิถุนายน 2553. เนื้อหานำเสนอ. 1. ที่มา /หลักการทางบัญชี. 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS และการตรวจสอบ.

Télécharger la présentation

ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง สำหรับหน่วยงานภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง สำหรับหน่วยงานภาครัฐ สำนักงานคลังเขต 2 10 มิถุนายน 2553

  2. เนื้อหานำเสนอ 1. ที่มา /หลักการทางบัญชี 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMISและการตรวจสอบ

  3. นโยบายปฏิรูประบบราชการภาครัฐ เน้นผลงานและผลลัพธ์ 1. ที่มา /หลักการทางบัญชี • 1 ต.ค. 45 (ปีงบประมาณ 2546) เริ่มระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง • ได้ข้อมูลทางบัญชีที่มีคุณภาพใช้วิเคราะห์ วางแผนและประเมินผล • งบการเงินสามารถแสดงทรัพยากร ภาระหนี้สิน และส่วนทุน รวมทั้งรายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี

  4. 1. ที่มา / หลักการทางบัญชี(ต่อ) • ปี พ.ศ. 2546 • หลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 • มาตรฐานรายงานการเงิน • ผังบัญชีมาตรฐาน • แนวปฏิบัติทั่วไปทางบัญชี

  5. นโยบายการบัญชี * ทั่วไป * สินทรัพย์ * หนี้สิน * สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน * รายได้ * ค่าใช้จ่าย 1. ที่มา / หลักการทางบัญชี(ต่อ)

  6. นโยบายการบัญชีทั่วไป - หลักบัญชีคู่ - เกณฑ์คงค้าง - รอบระยะเวลาบัญชี 1. ที่มา / หลักการทางบัญชี(ต่อ)

  7. นโยบายการบัญชีทั่วไป 1. ที่มา / หลักการทางบัญชี(ต่อ) หลักบัญชีคู่ หมายถึง การบันทึกบัญชีทั้ง 2 ด้าน คือ เดบิต และเครดิต ทุกครั้งเมื่อเกิดรายการ เกณฑ์คงค้าง หมายถึง หลักเกณฑ์ทางบัญชีใช้รับรู้รายการ และเหตุการณ์เมื่อเกิดขึ้น มิใช่รับรู้เมื่อมีการรับหรือจ่ายเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสด

  8. โครงสร้างระบบบัญชี 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง เริ่มต้น เอกสารประกอบรายการ สมุดบันทึกรายการขั้นต้น สมุดบันทึกรายการขั้นปลาย รายงานการเงิน จบ

  9. วิธีการบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้างวิธีการบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ต่อ) ดุลปกติ เครดิต เดบิต (2) หนี้สิน (1) สินทรัพย์ เงินสด 100 - 40 - 50 +70 = 80 + 5 = 5 เจ้าหนี้ 50 - 50 อุปกรณ์ 50 + 5 = 55 (3) ส่วนทุน ปิดรายได้ 70 ปิดค่าใช้จ่าย 40 + 30 ทุน 100 = 130 (4) รายได้ (5) ค่าใช้จ่าย - 40 = 0 - 70 = 0 ค่าจ้าง/ค่าเชื้อเพลิง 40 รายได้ 70

  10. 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ต่อ) PO FM ประมวลผลสิ้นวัน งบทดลอง งบทดลอง งบทดลอง งบแสดงฐานะการเงิน ประมวลผลสิ้นเดือน งบรายได้ค่าใช้จ่าย ประมวลผลสิ้นปี งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้ค่าใช้จ่าย FA AP GL CO ระดับหน่วยเบิกจ่าย RP ระบบ GFMIS ระดับกรม

  11. 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ต่อ) เครื่อง Terminal วิธีนำส่งข้อมูลเข้าระบบ GFMIS ระบบ Excel Loader 1. ผ่านเครื่อง Terminal 2. ผ่าน Intranet 3. ผ่าน Internet (Tokenkey) 4. ผ่าน Web Online SAP Server GFMIS

  12. 2. ภาพรวมระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ต่อ) โครงสร้างระบบบัญชีในระบบ GFMIS

  13. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภท (General Ledger Accounts) หมายถึง รหัสที่กำหนดเพื่อใช้ในการจำแนกรายการทางการเงินของหน่วยงาน ประกอบด้วยตัวเลข จำนวน 10 หลัก ดังนี้ XXXXXXXXXX หลักที่ 9 -10 คือ บัญชีแยกประเภท หลักที่ 7 - 8 คือ บัญชี หลักที่ 5 - 6 คือ ประเภทย่อย หลักที่ 3 - 4 คือ ประเภท หลักที่ 2 คือ หมวดย่อย หลักที่ 1 คือ หมวด 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS

  14. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS (ต่อ) ตัวอย่าง รหัสบัญชีสินทรัพย์หมุนเวียน บัญชีเงินสดในมือ 1101010101 หมายถึง เงินที่หน่วยงานถือไว้ในรูปของธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ดราฟต์ ธนาณัติ เช็ค บัญชีเงินฝากธนาคาร (เงินงบประมาณ) 1101020603 หมายถึง เงินฝากของหน่วยงานที่เปิดบัญชีไว้กับธนาคารพาณิชย์ เพื่อรับเงินงบประมาณที่เบิกจ่ายจากคลัง ตัวอย่าง รหัสบัญชีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน บัญชีครุภัณฑ์สำนักงาน 1206010101 หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในสำนักงาน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น บัญชีค่าเสื่อมราคาสะสมครุภัณฑ์สำนักงาน 1206010103 หมายถึง ค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์สำนักงานที่สะสมมาจนถึงงวดบัญชีปัจจุบัน

  15. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS (ต่อ) ตัวอย่าง รหัสบัญชีหนี้สินหมุนเวียน บัญชีเจ้าหนี้การค้า - บุคคลภายนอก 2101010102 หมายถึง จำนวนเงินที่หน่วยงานเป็นหนี้แก่บุคคลภายนอกในการจัดซื้อจัดจ้างที่มีการทำใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ในระบบ GFMIS และเลือกวิธีชำระเงินโดยการจ่ายตรงเข้าบัญชีผู้ขาย บัญชีใบสำคัญค้างจ่าย 2102040101 หมายถึง จำนวนเงินที่หน่วยงานเป็นหนี้แก่บุคลากรของหน่วยงาน หรือแก่บุคคลอื่นซึ่งไม่มีการทำใบ PO ในระบบ และเลือกวิธีชำระเงินโดยการจ่ายผ่านบัญชีของหน่วยงานรหัสผู้ขาย (Vender A) ตัวอย่าง รหัสบัญชีหนี้สินไม่หมุนเวียน บัญชีเงินทดรองราชการรับจากคลัง – เพื่อการดำเนินงาน 2202010101 หมายถึง เงินทดรองที่ส่วนราชการเบิกจากคลังเพื่อไปใช้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายปลีกย่อยในสำนักงานตามระเบียบ เงินทดรองราชการของกระทรวงการคลัง ซึ่งจะคืนคลังเมื่อหมดความจำเป็นต้องใช้ต่อไป

  16. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS (ต่อ) ตัวอย่าง รหัสบัญชีส่วนทุน / สินทรัพย์สุทธิ บัญชีรายได้สูง /(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 3101010101 หมายถึง ผลการดำเนินงานสุทธิในปีปัจจุบัน ซึ่งเกิดจากการปิดบัญชีรายได้และค่าใช้จ่าย บัญชีรายได้สูง /(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสมยกมา 3102010101 หมายถึง ผลการดำเนินงานสะสม ณ วันต้นงวดบัญชีปัจจุบัน บัญชีผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด 3102010102 หมายถึง รายการปรับปรุงผลการดำเนินงานสะสมของปีก่อน ๆ

  17. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS (ต่อ) ตัวอย่าง รหัสบัญชีรายได้ บัญชีรายได้ภาษีเบียร์ 4102020104 หมายถึง รายได้ภาษีที่จัดเก็บจากผลิตภัณฑ์เบียร์ ตามพรบ.สุรา พ.ศ. 2493 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง บัญชีรายได้ค่าขายของเบ็ดเตล็ด 4202030105 หมายถึง รายได้ของแผ่นดินจากค่าขายของเก่าชำรุดที่ทางราชการเลิกใช้ ค่าขายแบบแปลนการก่อสร้าง และต่อเติมอาคารสถานที่ของทางราชการ และค่าขายสินค้าและสิ่งของอย่างอื่น นอกจากสินทรัพย์ถาวร บัญชีรายได้เงินนอกงบประมาณ 4301020108 หมายถึง รายได้ของหน่วยงานที่ได้รับอนุญาตให้กันไว้จากเงินรายได้แผ่นดินเป็นเงินนอกงบประมาณ ตามกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้จ่ายในการดำเนินงานของหน่วยงาน

  18. 3. โครงสร้างรหัสบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS (ต่อ) ตัวอย่าง รหัสบัญชีค่าใช้จ่าย บัญชีเงินเดือน 5101010101 หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการจ้างงานซึ่งจ่ายให้แก่ข้าราชการทุกประเภทเป็นรายเดือน บัญชีเบี้ยหวัด 5101040101 หมายถึง ค่าใช้จ่ายตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมาซึ่งจ่ายให้เป็นรายเดือนให้แก่นายทหาร ชั้นสัญญาบัตร และนายทหารประทวนที่ออกจากราชการ และยังอยู่ในกองหนุน โดยจ่ายถึงวันครบ กำหนดรับเบี้ยหวัดตามข้อบังคับของกระทรวงกลาโหมว่าด้วยเงินเบี้ยหวัด พ.ศ. 2495 บัญชีค่าเชื้อเพลิง 5104010110 หมายถึง ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ค่าน้ำมันดีเซล เป็นต้น ที่ใช้ในการดำเนินของหน่วยงาน ค่าแก๊ส ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงอย่างอื่น รวมถึงค่าน้ำมันที่เกิดจากยอดการตัดค่าวัสดุใช้ไป

  19. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS งบการเงินระดับจังหวัด งบการเงินระดับกรม งบการเงินรวมระดับประเทศ บันทึกผ่านกระบวนงาน PO / AP / RP / FA โดยอัตโนมัติ co ระบบบัญชี แยกประเภท บันทึกปรับปรุงรายการบัญชี GL ผ่านระบบ Interfaceข้อมูลบัญชีของหน่วยงาน

  20. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) 4.1 เงินงบประมาณ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 4.2 เงินรายได้แผ่นดิน การรับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน 4.3 เงินนอกงบประมาณ 4.3.1 การรับและนำส่งเงินฝากคลัง 4.3.2 การเบิกจ่ายเงินฝากคลัง 4.3.3 การรับ/นำส่ง/เบิกจ่ายเงินฝากธนาคารพาณิชย์ 4.4 การปรับปรุงรายการ ณ วันสิ้นงวดบัญชี

  21. ขั้นตอนการเบิกจ่าย/บันทึกบัญชีเงินงบประมาณขั้นตอนการเบิกจ่าย/บันทึกบัญชีเงินงบประมาณ 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) FM จัดสรรเงินงบประมาณ FA สินทรัพย์ 5,000 ขึ้นไป PO ทะเบียนคุม งบประมาณ ก่อหนี้ผูกพัน ทะเบียนคุม หลักฐานขอเบิก ตรวจรับ/ใบแจ้งหนี้ AP ขอเบิกเงิน ลงบัญชี GL

  22. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) AP AP AP จ่ายตรง เจ้าหนี้ / ผู้มีสิทธิ จ่ายผ่าน ส่วนราชการ เบิกหักผลักส่ง ลงบัญชี ลงบัญชี GL GL เงินยืม ชดใช้ใบสำคัญ AP AP ขั้นตอนการเบิกจ่าย/บันทึกบัญชีเงินงบประมาณ (ต่อ) รับเงิน ทะเบียนคุม เบิกจ่าย ลงบัญชี เอกสาร จ่ายเงิน GL

  23. ขั้นตอนการจัดเก็บ/นำส่งเงิน/บันทึกบัญชีรายได้แผ่นดินขั้นตอนการจัดเก็บ/นำส่งเงิน/บันทึกบัญชีรายได้แผ่นดิน 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) รับเงินรายได้ เงินสด/ เช็ค เก็บรักษา นำส่งคลัง RP RP เอกสาร ทะเบียนรับเช็ค ลงบัญชี GL GL

  24. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) ขอเบิก GL รับเงิน ลงบัญชี AP เอกสาร จ่ายเงิน ขั้นตอนการถอนคืนเงินรายได้แผ่นดินและการบันทึกบัญชี AP ขอถอนคืน ภายในปี ข้ามปี ตกลง กค. ลดรายได้นำส่ง เงินงบประมาณ

  25. ขั้นตอนการรับ/เบิกจ่าย/บันทึกบัญชีเงินนอกงบประมาณขั้นตอนการรับ/เบิกจ่าย/บันทึกบัญชีเงินนอกงบประมาณ 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) รับเงินนอก งบประมาณ RP ลงบัญชี เก็บรักษา เอกสาร GL อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง RP นำฝาก เงินฝากคลัง เงินฝากธนาคาร GL

  26. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) ขอเบิก AP GL รับเงิน ลงบัญชี เอกสาร AP จ่ายเงิน ขั้นตอนการรับ/เบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณ (ต่อ) เงินฝากคลัง เงินฝากธนาคาร GL

  27. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) กระบวนงานเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 1) เบิกเงินจ่ายตรงผู้ขาย (ผ่าน และไม่ผ่าน PO ) 2) เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ 3) เบิกเงินยืม 4) เบิกเกินส่งคืน 5) เบิกเงินอุดหนุน

  28. กระบวนงานจัดเก็บ/นำส่ง/ถอนคืนเงินรายได้แผ่นดินกระบวนงานจัดเก็บ/นำส่ง/ถอนคืนเงินรายได้แผ่นดิน รับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดิน รับและนำส่งเงินรายได้แผ่นดินแทนส่วนราชการอื่น 3) ถอนคืนรายได้แผ่นดิน 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ)

  29. 4. วิธีบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ) กระบวนงานเกี่ยวกับเงินนอกงบประมาณ (ต่อ) การเบิกจ่ายเงินฝากคลัง 1) เบิกเงินฝากคลังจ่ายตรงผู้ขาย (ผ่าน และไม่ผ่าน PO) 2) เบิกเงินฝากคลังจ่ายผ่านส่วนราชการ 3) เบิกเงินยืม (เงินฝากคลัง) 4) เบิกเกินส่งคืน 5) โอนขายบิลเงินฝากคลัง(ภายในกรม / ระหว่างกรม) 6) เงินประกันสัญญา (มี และไม่มีรายตัว) การจัดเก็บ/นำส่ง/เบิกจ่ายเงินฝากธนาคารพาณิชย์

  30. ตัวอย่าง รายการบัญชีในระบบ GFMIS กรณีเบิกเงินจ่ายตรงผู้ขาย

  31. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) เบิกเงินจ่ายตรงผู้ขาย (ผ่าน PO ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  32. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) เบิกเงินจ่ายตรงผู้ขาย (ผ่าน PO ) - ต่อ รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  33. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) เบิกเงินจ่ายตรงผู้ขาย (ผ่าน PO ) - ต่อ รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  34. รายงานสรุปรายการขอเบิกของหน่วยงาน (จ่ายตรง)

  35. ตัวอย่าง รายการบัญชีในระบบ GFMIS กรณีเบิกเงินจ่ายผ่านหน่วยงาน (เงินงบประมาณ)

  36. เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ – งปม. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  37. เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ – งปม.(ต่อ) 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  38. รายงานสรุปการขอเบิกของหน่วยงาน (กรณีจ่ายผ่านหน่วยงาน – เงินงปม.)

  39. ตัวอย่าง รายการบัญชีในระบบ GFMIS กรณีเบิกเงินจ่ายผ่านหน่วยงาน (เงินฝากคลัง)

  40. เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ – นอกงปม.(ต่อ) 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  41. เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ – นอกงบฯ.(ต่อ) 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  42. เบิกเงินจ่ายผ่านส่วนราชการ – นอกงบฯ(ต่อ) 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  43. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) การรับและนำเงินนอกฯฝากคลัง รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  44. การรับและนำเงินนอกฝากคลังการรับและนำเงินนอกฝากคลัง 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  45. เงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพาณิชย์เงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพาณิชย์ 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  46. เงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพาณิชย์(ต่อ)เงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพาณิชย์(ต่อ) 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รายการ การบันทึกรายการบัญชี

  47. รายงานสรุปการขอเบิกของหน่วยงาน (กรณีจ่ายผ่านหน่วยงาน – เงินฝากคลัง)

  48. ตัวอย่าง รายการบัญชีในระบบ GFMIS กรณีรับและนำส่งรายได้ เงินนอกงบประมาณ (ฝากคลัง)

  49. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รับและนำส่งเงินรายได้เงินนอกงบประมาณ (ฝากคลัง) บันทึกจัดเก็บเงินรายได้ - RB

  50. 4. วิธีบันทึกบัญชี และรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS (ต่อ) รับและนำส่งเงินรายได้เงินนอกงบประมาณ (ฝากคลัง) - ต่อ นำส่งเงินที่ธนาคาร เกิดคู่บัญชีอัตโนมัติ - CJ

More Related