1 / 25

การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ

การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ. งานจัดระบบสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ. ระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศ. ระดับต้น จัดวางหนังสือง่ายๆ ตามลำดับโดยไม่จัดหมวดหมู่ เช่น เรียงตามทะเบียน จัดวางวารสารตามชื่อ วาระการออก จัดระบบการเรียงทรัพยากรไม่ถาวร เช่น จุลสาร โดยอาจเรียงตามหัวเรื่อง

dewitt
Télécharger la présentation

การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศการดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ งานจัดระบบสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  2. ระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศ • ระดับต้น • จัดวางหนังสือง่ายๆ ตามลำดับโดยไม่จัดหมวดหมู่ เช่น เรียงตามทะเบียน • จัดวางวารสารตามชื่อ วาระการออก • จัดระบบการเรียงทรัพยากรไม่ถาวร เช่น จุลสาร โดยอาจเรียงตามหัวเรื่อง • สร้างเครื่องมือช่วยค้น เช่น สมุดทะเบียน บัตรรายการ ที่ค้นจากผู้แต่ง หรือชื่อหนังสือ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  3. ระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศ • ระดับกลาง • สร้างเครื่องมือช่วยค้นที่เป็นบัตรรายการ หรือฐานข้อมูลที่ค้นได้จากหัวเรื่อง • จัดหนังสือตามเนื้อหา โดยใช้แบบแผนสากล และจัดเรียงตามเลขหมู่ • ขยายหรือกำหนดคำศัพท์ในคู่มือหัวเรื่องเพิ่มเติม และทำดรรชนีให้กับจุลสาร กฤตภาค • สร้างระบบการจัดเรียงสำหรับทรัพยากรพิเศษ เช่น สิทธิบัตร แผนที่ รูปภาพ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  4. ระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศระดับการดำเนินงานจัดระบบสารสนเทศ • ระดับสูง • พัฒนาการจัดหมู่แบบพิเศษขึ้นใช้เป็นการเฉพาะ ตลอดจนการจัดทำศัพท์สัมพันธ์ในการสืบค้น • บูรณาการฐานข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการสืบค้น • ทำดรรชนีบทความวารสาร รายงานวิชาการ อย่างละเอียดเพื่อประโยชน์ในการสืบค้น • เตรียมการจัดทำสาระสังเขปทรัพยากรสิ่งพิมพ์ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  5. การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะ • หนังสือ • วารสาร • จุลสาร รายงาน และเอกสาร • คอมพิวเตอร์สำหรับการสืบค้น • ทรัพยากรประเภทอื่นๆ เช่น โสตทัศนวัสดุ แผนที่ รูปภาพ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  6. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 1. ระดับการลงรายการบรรณานุกรม • ระดับที่ 1 เหมาะสำหรับห้องสมุดเฉพาะขนาดเล็ก ประกอบด้วย • ชื่อผู้แต่ง • ชื่อเรื่อง • สำนักพิมพ์ • ปีพิมพ์ • จำนวนหน้า • ISBN • หัวเรื่อง อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  7. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) • ระดับที่ 2 เหมาะสำหรับห้องสมุดขนาดกลาง และขนาดใหญ่ หรือข่ายงานบรรณานุกรม ใช้กันมากที่สุด ประกอบด้วย • ชื่อผู้แต่ง • ชื่อเรื่อง และรายการแสดงความรับผิดชอบ • ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีพิมพ์ • จำนวนหน้า ภาพประกอบ ขนาด สิ่งที่ติดมาด้วย • รายละเอียดเพิ่มเติม ISBN • หัวเรื่อง และรายการเพิ่ม อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  8. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) • ระดับที่ 3 เป็นการลงรายการที่สมบูรณ์ที่สุด ตามกฎ AACR2 อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  9. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 2. การสร้างระเบียนรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะ - บัตรรายการ - รายการเป็นรูปเล่ม - ฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  10. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 3. มาตรฐานการลงรายการด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (MARC) 3.1 เขตข้อมูล (Field) ได้แก่ เขตข้อมูลควบคุม และเขตข้อมูลทางบรรณานุกรม 3.2 เขตข้อมูลย่อย (Subfield) 3.3 รหัสกำกับข้อมูลภายในรายการ(Content designation) 3.4 ตัวบ่งชี้ (Indicator) อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  11. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 4. ข่ายงานบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities) 4.1 ความสำคัญของข่ายงานบรรณานุกรมต่อห้องสมุดเฉพาะ - ความต้องการสารสนเทศมีการขยายตัว - ไม่มีห้องสมุดใดที่มีทรัพยากรครบทั้งหมด อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  12. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 4. ข่ายงานบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities) 4.2 ประโยชน์ของข่ายงานบรรณานุกรมต่อห้องสมุดเฉพาะ - ทำให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นรายการบรรณานุกรมของห้องสมุดอื่นได้ - ใช้ประโยชน์สำหรับบรรณารักษ์งานทำรายการ - สามารถสืบค้นสารสนเทศที่หายากได้ (Grey literature) อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  13. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 4. ข่ายงานบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities) 4.3 ข่ายงานบรรณานุกรมที่ได้รับความนิยมในห้องสมุดเฉพาะในต่างประเทศ - OCLC - A-G Canada Ltd. - WLN - AMICUS อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  14. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  15. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  16. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  17. การสร้างระเบียนบรรณานุกรมหรือการทำรายการ (Cataloging) 4. ข่ายงานบรรณานุกรม (Bibliographic Utilities) 4.3 ข่ายงานบรรณานุกรมที่ได้รับความนิยมในห้องสมุดเฉพาะในประเทศ - สหบรรณานุกรมของ ThaiLis - TLC : Thailand Library Consortium - Food Science and Technology Information Network อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  18. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Subject analysis) • ความสำคัญ • ทำให้ทรัพยากรสารสนเทศมีการจัดเรียงตามเนื้อหา ตามสัญลักษณ์เลขหมู่ หรือหัวเรื่อง • สามารถกำหนดหัวเรื่องได้มากกว่า 1 ต่อทรัพยากรสารสนเทศ 1 รายการ • ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างเฉพาะเจาะจง อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  19. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Subject analysis) • กระบวนการวิเคราะห์สารสนเทศ ประกอบด้วย • 1. การจัดหมู่ เป็นการกำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ • 2. การทำรายการหัวเรื่องหรือการทำดรรชนี เป็นการกำหนดคำศัพท์แทนเนื้อหาทรัพยากรสารสนเทศ • 3. การทำสาระสังเขปหรือบทคัดย่อ (Abstract) อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  20. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Subject analysis) • การจัดหมู่ (Classification) • แนวทางการจัดหมู่ของห้องสมุดเฉพาะ • เลือกใช้ระบบการจัดหมู่สาขาวิชาทั่วไปที่เป็นที่นิยม • เลือกใช้ระบบการจัดหมู่เฉพาะสาขาวิชา • ดัดแปลงหรือขยายระบบการจัดหมู่ของผู้อื่น • พัฒนาระบบการจัดหมู่ขึ้นใหม่ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  21. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Subject analysis) • การจัดหมู่ (Classification) • ระบบการจัดหมู่ในห้องสมุดเฉพาะ • ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) • ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal) • ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (National Library of Medicine Classification) • ระบบทศนิยมสากล (Universal Decimal Classification) อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  22. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  23. 000 Generalities 100 Philosophy & psychology 200 Religion 300 Social sciences 400 Language 500 Natural sciences & mathematics 600 Technology (Applied sciences) 700 The arts 800 Literature & rhetoric 900 Geography & history อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  24. Preclinical Sciences: QS Human Anatomy QT Physiology QU Biochemistry QV Pharmacology QW Microbiology and Immunology QX Parasitology QY Clinical Pathology QZ Pathology Medicine and Related Subjects: W Health Professions WA Public Health WB Practice of Medicine WC Communicable Diseases WD Disorders of Systemic, Metabolic or Environmental Origin, etc. WE Musculoskeletal System WF Respiratory System ฯลฯ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

  25. 0 Generalities. Informatics and Information Sciences • 1 Philosophy. Psychology • 2 Religion. Theology • 3 Social Sciences. Statistics. Politics. Government. Economics. Law. Administration. Military. Folklore • 4 Unassigned • 5 Natural Sciences. Mathematics • 6 Applied Sciences. Medicine. Technology • 7 The Arts. Recreation. Entertainment. Music. Sports • 8 Languages. Linguistics. Literature • 91 Geography • 92 (Auto-) Biography • 93/99 History. Archeology อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

More Related