1 / 56

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน. กฎข้อที่ 1 ; a = 0 วัตถุจะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ กฎข้อที่ 2 = ma แรงลัพธ์ และความเร่ง a มีทิศเดียวกัน

dillan
Télécharger la présentation

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน • กฎข้อที่ 1 ; a = 0 วัตถุจะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ • กฎข้อที่ 2 = ma แรงลัพธ์ และความเร่ง a มีทิศเดียวกัน • กฎข้อที่ 3 มีแรงกริยา ต้องมีแรงปฏิกิริยา โดยที่ขนาดเท่ากัน ทิศตรงกันข้ามและอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน

  2. ตัวอย่างที่ 25 : ใช้แรง 20 นิวตัน ดันมวล 2 กิโลกรัม ให้เคลื่อนที่ขึ้นไปบนพื้นระนาบเอียงผิวเกลี้ยงจากเดิมอยู่นิ่ง จงหา ก.ความเร่งของมวล 2 กิโลกรัม ข.ระยะทางที่มวลนี้เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา 2 วินาที นับจากเริ่มเคลื่อนที่ กำหนดให้ g = 10m/ s2

  3. วิธีทำ ก. เขียน FBD ตั้งแกน แตกแรงแล้วคิดทีละ แนวแกน ก. คิดแกน x : + = max Fcos 37 - mgsin 37 = ma 20 - 2 (10) = 2a จะได้ a = +2 m/s2ตอบ ข. คิดแกน x : + s = ut + at2 = 0 + (+2)(2)2 = 4 m ตอบ

  4. ตัวอย่างที่ 26 : ออกแรง 50 นิวตัน ดันมวล 20 กิโลกรัม ให้ดันมวล 5กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปบนพื้นระดับราบลื่นด้วยกัน จงหา ก. ความเร่งของมวลทั้งสอง ข. มวล 20 กิโลกรัม ดันมวล 5 กิโลกรัม ด้วยแรงเท่าไร

  5. วิธีทำก. เมื่อมวลหลายก้อนมีความเร่งเท่ากัน ต้องคิด FBD รวมก่อน คิดแกน x : = mรวม ∙ ax +F = (M+ m)a 50 = ( 20+5)a ได้ a = +2 m/s2ตอบ ข. เมื่อคิดแรงระหว่างมวล ควรคิดที่มวลน้อยกว่า คือ คิดที่ 5 kg คิดแกน x : = max F0 = (5)(+2) = 10N ตอบ

  6. ตัวอย่างที่ 27 :ก้อนวัตถุสี่เหลี่ยม A และ B วางซ้อนกันอยู่บนพื้นระดับดังรูป มีแรง 10 N กระทำในแนวระดับต่อมวล A กำหนดให้สัมประสิทธ์ของความเสียดทานสถิตและความเสียดทานจลน์ระหว่างคู่ผิวใดๆ มีค่าเท่ากับ 0.3 และ 0.2 ตามลำดับ และมวลของ A และ B มีขนาด 2.0 และ 0.5 kg ตามลำดับ มวล A จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งขนาดเท่าใด (กำหนดให้ g = 10m/s2)

  7. หลัก : เมื่อมวลหลายก้อนวางทับกัน อาจเกิดเหตุการณ์ได้ 2 กรณี คือ 1. มวลทั้งหมดติดกันไป หรือ 2. มวลไถลผ่านกัน ดังนั้น เราต้องตรวจสอบว่า แรงที่ใช้กระทำบนมวลนั้นมากพอให้มวลไถลผ่านกันหรือไม่

  8. แบบที่ 1 : เมื่อมีแรงกระทำบนมวลก้อนล่างในแนวระดับ ขั้นที่ 1 สมมติให้มวล A และ B เริ่มไถลผ่านกัน ใช้ ระหว่างผิว ของ A และ B หาความเร่งก่อน คิดที่มวลไหนก็ได้ คิดที่ B แกน x : = ma mg = ma ได้ a = g …(1)

  9. ขั้นที่ 2คิดรวม เพราะ A และ B เริ่มไถลผ่านกัน แสดงว่ายังติดกันอยู่ มีความเร่งเท่ากัน แต่ใช้ ที่ผิวล่าง เพราะ A เคลื่อนที่ไถลไปบนผิวล่าง คิดแกน x : = mรวม ∙ a Fmax - ( m+M)g = ( m+M) g ได้ Fmax = ( m+M)g( + ) ซึ่ง Fmax เป็นแรงที่มากที่สุดที่ยังคงทำให้ A และ B ติดกันอยู่ แต่ถ้าแรงมากกว่านี้ A และ B จะไถลผ่านกัน

  10. แบบที่ 2 : เมื่อมีแรงกระทำบนมวลก้อนบนในแนวระดับ • กระทำเช่นเดียวกับแบบที่ 1 จะได้ดังนี้ ขั้นที่ 1คิดรวม แกน x : = mรวม ∙ a Fmax - (m+M)g =(m+M)a ...(2) ขั้นที่ 2คิดที่ M แกน x : = Ma mg- (m+M)g = Ma ...(3) หาค่า a จาก(3) แล้วแทนลงใน (2) จะได้ แรงมากที่สุด Fmax = (m+M)g( - )

  11. นักเรียนอาจจำ Fmax ทั้ง 2 กรณีนี้เป็นสูตรไว้ตรวจสอบได้ ลองตรวจสอบในตัวอย่างที่ 27 ว่า แรงมากที่สุดที่วัตถุ A,B จะไถลผ่านกันคือ Fmax = (m+M)g( + ) = (0.5+2 )(10)(0.3+0.2) = 12.5 N แต่ในข้อนี้เราใช้แรงเพียง 10 N ดังนั้น A และ B ติดกันไป

  12. คิดรวม แกน x : = mรวม ∙ a F - (m+M)g = (m+M)a a = g = - 0.2(10) a = 2 m/s2 ตอบ

  13. หมายเหตุ 1. อย่าใช้ a = g เพราะ a ค่านี้ เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเริ่มไถลผ่านกันพอดีโดย Fmax 2. ถ้า F ที่ใช้มากกว่า Fmax วัตถุไถลผ่านกัน ต้องคิดที่มวลก้อนเล็กกว่าไม่ว่าแรง F จะกระทำบนมวลก้อนบนหรือล่าง จึงจะทำได้ง่ายกว่า

  14. การหาความเร่งของมวลในระบบรอกการหาความเร่งของมวลในระบบรอก

  15. ตัวอย่างที่ 28 กำหนดความเร่งของมวล ดังรูป จงหาความเร่งของมวล m2 วิธีทำ คิดรอก C ซึ่งย้ายที่อยู่ได้ + a1 = +3 = 6 = a2 - 2 a2 = +8 m/s2 นั่นคือ ได้ a2 เป็นบวก(+) a2 มีทิศดิ่งขึ้น ( กำหนดให้ + ) ดังนั้น m2 มีความเร่งไปทางขวามือ เท่ากับ 8m/s2ตอบ

  16. ตัวอย่างที่ 29ตามรูปทางซ้ายมือ ถ้ามวล B มีความเร่ง 2m/s2 ดิ่งลง จงหาความเร่งของมวล A และของรอก D • วิธีทำ คิดรอก D ซึ่งจะคิดได้ 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 : ใช้ + aB = +2 = นั่นคือ ได้ aA = 4 m/s2 ตอบ วิธีที่ 2 : ใช้ TAaA =TBaB …(1) คิดรูป ข: 2TA = TB แทนใน 1 จะได้ TAaA = 2TAaB aA = 2aB = 2(2) aA = 4 m/s2ตอบ

  17. ตัวอย่างที่ 30มวล 2 และ 3 กิโลกรัม วางนิ่งอยู่บนพื้นระดับและผูกที่ปลายแต่ละข้างของเชือกเส้นหนึ่งซึ่งคล้องผ่านรอกมวล 0.2 กิโลกรัม ถ้าออกแรง Fดึงรอกขึ้นจะพอดีทำให้มวล 3 กิโลกรัมเริ่มจะเคลื่อนที่ จงหา ก. ความเร่งของมวล 2 กิโลกรัม ข. ความเร่งของรอก ค. ค่าของแรง F ในกรณีนี้

  18. วิธีทำ เขียน FBD ของมวลทั้งสองและของรอก แล้วคิดทีละตัว ก. คิดที่ m = 2kg : + = ma T-mg = ma2 …(1) คิดที่ M = 3kg ซึ่งเริ่มเคลื่อนที่ ความเร่ง a3= 0 (สมดุล) จะได้ T = Mg …(2) แทน T จาก(2) ใน (1) จัดรูปสมการจะได้ a2 = = = 5m/s2ตอบ

  19. ข. คิดที่รอก : + a1 = a1 = +2.5 m/s2 ตอบ ค. คิดที่รอก : + = ma F-2T = m0a1 F-2Mg = m0a1 F-2(3)(10) = 0.2(2.5) F = 60.5 N ตอบ

  20. ตัวอย่างที่ 31: มวล m1 วางบนพื้นระดับราบผิวลื่น รอกทุกตัวเบาและหมุนคล่อง กำหนดให้ g เป็นสนามโน้มถ่วงของโลก จงหา ก. ความเร่งของมวลทั้งสอง ข. แรงตึงในเส้นเชือกทั้งสองเส้น วิธีทำ เขียน FBD ของมวลทั้งสองและของรอกแล้วคิดทีละตัว คิดที่รอก C : ไม่กำหนดมวลของรอก ถือว่ารอกเบามาก นั่นคือ mc = 0 ได้ = mca = 0 2T1 = T2 …..(1)

  21. และจาก + a2 = a2 = a1 = 2a2 …(2) คิดที่ m1 + = ma T1 = m1a1 …(3) คิดที่ m2 + = ma m2g-T2 = m2a2 …(4) จาก (1), (2) และ(4) จะได้ m2g+2T1= m2 ...(5)

  22. ก. แทน T1 จาก(3) ใน (5) จัดรูปใหม่ได้ a1 = จาก (2) a2 = ตอบ ข. จาก (3) T1 = จาก (1) T2 = ตอบ

  23. วิธีหาแรงลัพธ์โดยการคำนวณวิธีหาแรงลัพธ์โดยการคำนวณ • ถ้ามี 2 แรงย่อย คือ และ • ขนาดของ : R2 = P2 + Q2 + PQcos • ทิศของ : tan a = ….R ทำกับ P • ข. ถ้ามีแรงย่อยมากกว่า 2 แรง ควรใช้วิธีแตกเวกเตอร์ให้อยู่ในแนว x และ y ซึ่ง x และ y ตั้งฉากกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้

  24. ตัวอย่างที่ 32: แรงย่อย 2 แรง มีขนาด 2 นิวตัน และ 3 นิวตัน ทำมุม 60 องศา จงหา ก. ขนาดของแรงลัพธ์ ข. ทิศทางของแรงลัพธ์

  25. วิธีทำก. ขนาดของ R2 = P2 + Q2 + 2PQcos = (32)+(2)2 +2(3)(2) R2 = 19 R = = 4.36 ตอบ ข. ทิศของ tan a = = = 0.43 ดังนั้น ทำมุม a = tan-1 (0.43) กับ ตอบ

  26. ตัวอย่างที่ 33 : จงหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยที่กระทำบนจุดหนึ่ง ดังรูป ก. วิธีคิด แตกแรงทุกแรงที่ไม่ขนานกับแกน x และ y ให้อยู่ในแนวขนานกับ x และ y ดังรูป ข. แล้วรวมแรงในแนวแกน x และ y ได้ผลลัพธ์ดังรูปค. แกน x : + = 20cos - 10cos = 20 - 10 = 4 N แกน y : + = 20sin + 10sin - 5 = 20 + 10 -5 = 17

  27. ขนาดของแรงลัพธ์ : R = = = 17.46 N ทิศของแรงลัพธ์ : tan = = = tan-1

  28. โมเมนต์ของแรงหรือทอร์กโมเมนต์ของแรงหรือทอร์ก • ขนาดของโมเมนต์ = แรง x ระยะตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง • MF = FL …..เมื่อ F L • โมเมนต์ของแรงลัพธ์ = โมเมนต์ลัพธ์ • = • ยกเว้นแรงคู่ควบซึ่ง = 0 • 3. แรงที่มีแนวผ่านจุดหมุน จะมีโมเมนต์เป็นศูนย์เสมอ

  29. ตัวอย่างที่ 34 : จงหาโมเมนต์ของแรง 20 N รอบจุด วิธีทำ โจทย์กำหนดมุม แสดงทิศทางของแรง ควรแตกแรงไปตั้งฉากกับระยะที่ทราบ M20 = + = (20cos )(3) + (20sin )(2) = +72 N.n เครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่าหมุนตามทิศที่กำหนดให้ นั่นคือ หมุนตามเข็มนาฬิกาตอบ

  30. ตัวอย่าง 35 : จงหาโมเมนต์ลัพธ์รอบจุด ในรูปกำหนดให้ว่าคานไม่สมดุล วิธีทำ = Mw+Mr+ + = W + f(L )-N2 (L ) = +fL ตอบ

  31. สมดุล • สมดุลเชิงเส้น • สมดุลเชิงหมุน • ถ้าวัตถุสมดุลโดยสมบูรณ์ จะต้องสมดุลทั้งเชิงเส้นและเชิงหมุนในเวลาพร้อมกัน • 1. สมดุลด้วยแรง 3 แรง • ถ้ามีแรง 3 แรงกระทำบนวัตถุแล้วสมดุล จะได้ว่า

  32. แนวแรงทั้ง 3 แรงต้องพบกันที่จุดหนึ่ง • 2. แรงทั้ง 3 ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน • 3. แรงทั้ง 3 ต้องต่อกันเป็นรูปสามเหลี่ยม สามารถใช้ Law of sine คำนวณได้คือ • ซึ่งเรียกวิธีการนี้ว่า ทฤษฎีของลามี • 2. สมดุลจลน์ คือ สภาพที่วัตถุมวล m มีความเร่ง a คิดให้วัตถุนี้สมดุลได้ด้วยการเพิ่มแรงเทียม ma ที่จุดศูนย์กลางมวล (cm) ในทิศตรงกันข้ามกับ a

  33. ตัวอย่างที่ 36: มวล 10 กิโลกรัม อยู่บนโต๊ะระดับราบที่มีสัมประสิทธ์ของความเสียดทาน 0.5 ถามว่ามวล m ต้องเป็นเท่าไร จึงจะทำให้ระบบเริ่มเคลื่อนที่ วิธีทำ เขียน FBD ของมวลทั้งสองแล้วคิดทีละตัว คิดที่ m แกน y : T = mg …(1) คิดที่ M แกน x : T = N ...(2) แกน y : N = Mg …(3) แทน (3) ใน (2) ได้ T = Mg แล้วแทนใน (1) ได้ m = M = 0.5(10) kg = 5 kg ตอบ

  34. ตัวอย่างที่ 37 : ตามรูป ผิวลื่นทุกผิว จงหามุม ที่พอดีทำให้ระบบสมดุลอยู่ได้ วิธีทำ เขียน FBD ของมวลทั้งสองแล้วคิดทีละก้อน คิดที่ m ตามแนวพื้นเอียง : T = mg sin …(1) คิดที่ M ตามแนวพื้นเอียง : T = Mg sin …(2) (2) = (1) จะได้ sin = = = ตอบ

  35. ตัวอย่างที่ 38 : จากรูป m2 วางบนพื้นระดับที่มีสัมประสิทธ์ของความเสียดทานเป็น รอกเบาและหมุนคล่อง จะต้องใช้แรง F ที่มากที่สุดและน้อยที่สุดเท่าไร จึงสมดุลอยู่ได้ • วิธีทำ เขียน FBD ดังรูป • เมื่อเป็น Fmax มวล m2 จะเคลื่อนที่ไปทางขวา • คิดมวล m2 • คิดแกน x : Fmax = T + N • = T+ m2g ....(1)

  36. คิดมวล m1 : T = m1g …(2) แทน T จาก (2) ใน (1) จะได้ Fmax = (m1 + m2 )g ตอบ 2. เมื่อเป็น Fmin มวล m2 จะเคลื่อนที่ไปทางซ้าย คิดมวล m2 คิดแกน x : Fmin = T- N = T - m2g = m1g- m2g Fmin = (m1 - m2) g ตอบ

  37. ตัวอย่างที่ 39: วัตถุเล็กๆสองก้อน ผูกที่ปลายเชือกแล้วคล้องไว้บนทรงกระบอกผิวลื่น จะสมดุลพอดีดังรูป จงหามุม วิธีทำ เขียน FBD รวม m,M และเชือก จึงถือว่า m,M และเชือกเป็นส่วนเดียวกัน แรงตึงเชือกจึงไม่ต้องเขียน ให้ 0 เป็นจุดหมุน ใช้ = 0 Mg (R cos ) = mg (R) cos = = cos-1ตอบ

  38. ตัวอย่างที่ 40 : จงหาแรง F ที่พอดีดึงทรงกระบอกให้ขึ้นชั้นบนได้ กำหนดทรงกระบอกหนัก W และรัศมี R วิธีทำ เขียน FBD ของทรงกระบอก แล้วให้จุด 0 เป็นจุดหมุนใช้ (ยกขึ้นพอดี แสดงว่าสมดุลครั้งสุดท้ายและแรงปฏิกิริยาที่พื้นระดับราบเป็นศูนย์) ตอบ

  39. ตัวอย่างที่ 41 : ถ้าออกแรงดึงมวล 1 กิโลกรัม แล้วพอดีเริ่มเคลื่อนที่บนพื้นระดับเกลี้ยง ถามว่าระหว่างผิวสัมผัสของมวล 1 และ 2 กิโลกรัม มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเท่าไร วิธีทำเขียน FBD รวม แล้วใช้ = 0 จะได้ แกน x : T = F = 10N ….(1) คิดที่ M=2 kg;แกน x : N0 = T ….(2) แกน y : N0 = Mg ….(3) แทน (3) ใน (2) จะได้ = = 0.5 N ตอบ

  40. ตัวอย่างที่ 42 : น้ำหนัก 10 นิวตัน แขวนที่ปลายเชือก ซึ่งผูกอยู่ที่จุด C กับเชือกอีกเส้นหนึ่ง ดังรูป จงหาแรงตึงในเส้นเชือกทุกเส้น วิธีทำ เขียน FBD ของจุด C จะพบว่ามี 3 แรง กระทำให้จุด C สมดุล ดังนั้น อาจใช้ทฤษฎีของลามีได้ดังนี้ จะได้ T1 = 10 cos = 10 = 6 N T2 = 10 cos = 10 = 8 N ตอบ

  41. ตัวอย่างที่ 43 : คานสม่ำเสมอหนัก W ปลายบนพิงกำแพงดิ่ง ปลายล่างแตะพื้น ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสทุกผิวเท่ากับ และคานเริ่มจะไถลลงมา จงหามุมระหว่างคานกับพื้นราบ วิธีทำ เขียน FBD ของคาน ดังรูป (ให้คานยาว =L) คิดแกน x : N2 = N1 คิดแกน y : W = N1+ N2 …(1) แทน N2 ได้ : W = N1(1+ + ) …(2) ให้ A เป็นจุดหมุน ใช้ = 0 จะได้ Mทวน = Mตาม

  42. N1(Lcos ) = N1(Lsin ) + W Lcos หารตลอด ; N1 = N1 tan + แทน Wจาก (2) ; N1 = N1tan + จะได้ tan = = tan-1 เมื่อ = = ได้ = tan-1 ตอบ

  43. การล้มพอดีของวัตถุ

  44. ตัวอย่างที่ 44 : มีวัตถุอยู่ 10 แผ่น ขนาดเท่ากัน พบว่าวางซ้อนกันให้สมดุลครั้งสุดท้ายได้พอดี เมื่อให้เหลื่อมกัน 2 cm เท่าๆกันจงหา ก. ความยาวของแผ่นวัตถุแต่ละแผ่น ข. ระยะเหลื่อมของแผ่นที่ 2 นับจากล่าง โดยให้แผ่นบนสุดเหลื่อมได้มากที่สุด วิธีทำ ก. เมื่อระยะเหลื่อมเท่าๆกัน จะได้ ข. เมื่อระยะเหลื่อมมากที่สุด จะได้ d =d = = 2 cm = = 1.11 cm ตอบ L = 20 cm ตอบ

  45. ตัวอย่างที่ 45: ใช้แรง F = 4 นิวตัน ในแนวระดับ ดันกล่องใบหนึ่งซึ่งหนัก 10 นิวตัน จะพอดีล้มก่อนไถล จงหา ก. ระยะ h ข. ตำแหน่งของแรงปฏิกิริยาตั้งฉาก ค. แรงเสียดทาน กำหนดให้สัมประสิทธ์ของความเสียดทานเป็น 0.5 วิธีทำเขียน FBD ของวัตถุดังรูป

  46. เมื่อวัตถุล้มก่อนไถล จะได้ • F = • 4N = • h = 25 cm ตอบ • ระยะ x = = = 10 cm • นั่นคือ แรงปฏิกิริยาตั้งฉากอยู่ที่มุมกล่องข้างล่าง ซึ่งตรงข้ามกับด้านที่แรง F กระทำ ตอบ • ค. คิดแกน x : f = F = 10 N ตอบ

  47. ตัวอย่างที่ 46: กล่องใบหนึ่งหนัก 10 นิวตัน วางบนพื้นระดับราบที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานเป็น 0.5 เมื่อใช้แรง F ในแนวระดับดันกล่องแล้วกล่องไถลก่อนล้ม จงหา ก. ขนาดของแรง F ข. แรงเสียดทาน ค. ตำแหน่งของแรงปฏิกิริยาตั้งฉาก วิธีทำ เขียน FBD ของวัตถุ ดังรูป ก. คิดแกน x : F = f = N = W = (0.5)(10) = 5 N ตอบ

  48. ข. แรงเสียดทาน f =F = 5 N ตอบ • ระยะ x = h = (0.5)(9cm) • = 4.5 cm • นั่นคือ แรงปฏิกิริยาตั้งฉากอยู่ห่างจากแรงโน้มถ่วง (W) เท่ากับ 4.5 เซนติเมตร ตอบ

  49. ตัวอย่างที่ 47:ในกรณีตัวอย่างที่ 46 ถ้าจะให้กล่องไถลพร้อมกับล้มพอดี จงหา ก. ขนาดของแรง F ข. แรงเสียดทาน ค. ตำแหน่งของแรงปฏิกิริยาตั้งฉาก ง. ระยะที่แรง F กระทำสูงจากพื้น

  50. วิธีทำ เขียน FBD ของวัตถุ ดังรูป • คิดแกน x : F = f = N = W • = (0.5)(10) • = 5 N ตอบ • แรงเสียดทานf = F = 5 N ตอบ • ระยะ x = ตอบ • จาก x = h • 10 cm = 0.5 h • h = 20 cm ตอบ

More Related