1 / 43

แผนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) กรมอนามัย พ.ศ. 255 3 – 255 6

แผนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) กรมอนามัย พ.ศ. 255 3 – 255 6. กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย. อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย, การเข้าถึงแหล่งอาหาร. สร้างนโยบายสาธารณะ

Télécharger la présentation

แผนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง) กรมอนามัย พ.ศ. 255 3 – 255 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง)กรมอนามัย พ.ศ. 2553 – 2556 กองโภชนาการ - กองออกกำลังกาย

  2. อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย, การเข้าถึงแหล่งอาหาร สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรม ปัจจัยด้านพฤติกรรม อ้วนลงพุง Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน 2

  3. วิสัยทัศน์ : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี(Healthy Life Style for People NO BELLY) เป้าประสงค์ : ประชาชนอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย และอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดโรควิถีชีวิต 3 3

  4. ผลลัพธ์ที่ต้องการ Ultimate Goalsประชาชนทุกกลุ่มวัยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี (Healthy Life Style for People NO BELLY) • Impact : • 1. ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. ( ร้อยละ 80 ) • 2. ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. ( ร้อยละ 43.5 ) • 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ ( ร้อยละ 85 ) • Outcome : • 1. ประชาชนอายุ 6 ปีขึ้นไปมีพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกลุ่มวัย • 2. ประชาชนสามารถจัดการน้ำหนักของตนเอง ครอบครัว ชุมชน ด้วยหลักการ 3 อ. • Output : • 1. มีการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบการมีส่วนร่วม • 2. องค์กรภาครัฐ เอกชน อปท. มีความสามารถในการบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • 3. กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้า ในชุมชน และบริษัทอุตสาหกรรม ผลิตและจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน • กรมอนามัย • 4. ประชาชนเข้าถึงบริการและพึงพอใจต่อสินค้า / บริการ “คนไทยไร้พุง” 4 4

  5. จุดหมายปลายทางการแก้ไขปัญหาโรคอ้วน กรมอนามัย ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง • ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก3 อ. • ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบDPAC(คลินิกไร้พุง) • หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ • องค์กรทุกระดับ และทุกภาคส่วน มีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ • ชุมชน องค์กร/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีแผนยุทธที่ศาสตร์แบบบูรณาการทั้งส่วนกลางและพื้นที่ มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพ และต่อเนื่อง มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (HEALTH Model) บุคลากรขององค์กร มีความรู้ ทักษะและความสามารถ ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้

  6. SM คนไทยไร้พุง 2553-2556 • ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังด้านอาหารและออกกำลังกายได้ด้วยตนเอง • พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะในการประเมินและเฝ้าระวังตนเองด้านอาหารและออกกำลังกาย • lส่งเสริมให้ประชาชนสามารถจัดการแก้ปัญหาโรคอ้วนลงพุงด้วยตนเองได้ • สร้างความตระหนักภัยร้ายของโรคอ้วนลงพุง • ชุมชนไร้พุงต้นแบบ • สร้างชุมชนไร้พุงต้นแบบ • ผลักดันให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ • พัฒนากองทุนสุขภาพ • ชุมชน / องค์กร มีแกนนำคนไทยไร้พุง • สร้างแกนนำคนไทยไร้พุงในระดับองค์กร/ชุมชน • ส่งเสริมให้แกนนำแสดงบทบาทในการกำหนดมาตรการทางสังคมด้านอาหารและออกกำลังกาย / การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • สร้างเครือข่ายแกนนำคนไทยไร้พุง • ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. • ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. • ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดโรควิถีชีวิต • ส่งเสริมให้ชุมชนมีแผนงาน/โครงการคนไทยไร้พุง • ส่งเสริมให้มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหารและออกกำลังกายมาใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักการ 3 อ. • พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหารและออกกำลังกาย • ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. • ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน • สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สร้างช่องทางแหล่งเรียนรู้ ระดับประชาชน (Valuation) • หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน / รร. ให้มีความสามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง • สร้างเครือข่ายไร้พุง • ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมคนไทยไร้พุง • สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC • ผลักดันจัดตั้ง DPAC • สร้างเครือข่าย DPAC • บริหารความสัมพันธ์เครือข่าย (CRM) • ชุมชนองค์กร/กลุ่มผู้ผลิตผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรม คนไทยไร้พุง • สร้างความร่วมมือให้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้า ในชุมชนและบริษัทอุตสาหกรรม ผลิตและจำหน่ายอาหารและลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐาน • พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาดกลุ่มผู้ผลิต ผู้ค้าอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ • สร้างเครือข่ายการดูแลคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ • สนับสนุนให้นำแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติในหน่วยงาน • ส่งเสริม สนับสนุนให้นำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต • ภาคีประชาสังคม มีส่วนร่วมในการเสนอแนะเชิงวิชาการการบริหารจัดการ • ผลักดันองค์กรต่างๆสู่องค์กรไร้พุง • สร้างระบบติดตามประเมินผล • ภาคีเครือข่ายมีศักย-ภาพด้านการบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุง • พัฒนาระบบการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย • พัฒนาระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ที่ทันสมัย • องค์กรทุกระดับทุกภาคส่วนมีนโยบายสาธาษณะมาตรการทางสังคม กฎระเบียบนำไปสู่การปฏิบัติ • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนสร้างนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎหมาย ระเบียบ • สนับสนุนให้มีเวทีประชาคมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ติดตามประเมินการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ระดับภาคี (Stakeholder) • กลุ่มเป้าหมายได้รับการถ่าย ทอดองค์ความรู้ที่เหมาะสม • ผลักดันให้องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนสร้างนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม ระเบียบ • สนับสนุนให้มีเวทีประชาคม • สื่อมวลชน ให้ความร่วมมือในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง • สร้างเครือข่ายสื่อมวลชน • พัฒนาศักยภาพสื่อมวลชนด้าน 3 อ. • สนับสนุนสื่อวิชาการด้าน 3 อ.อย่างทั่วถึงและเพียงพอ • ชุมชน องค์กรทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง • พัฒนากระบวน การผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมไร้พุง • ส่งเสริมการวิจัยชุมชนด้าน ไร้พุง • องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีและปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎหมายระเบียบ สู่การปฏิบัติ • สร้างเครือข่ายภาคีประชาสังคม • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คนไทยไร้พุง • ผลักดันการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ • องค์กรวิชาการ สนับสนุนองค์ความรู้ /วิชาการ • สร้างเครือข่ายวิชาการ • พัฒนาองค์ความรู้คนไทยไร้พุง ระดับกระบวนการ (Management) • มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบเฝ้าระวัง • สร้างเครือข่ายการเชื่อมต่อระบบ • เร่งรัดให้มีการนำระบบเฝ้าระวังไปใช้สู่การปฏิบัติ • ผลักดันให้มีการเชื่อมต่อระบบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดทำระบบคาดการณ์อนาคตสำหรับผู้บริหาร • มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย • พัฒนาระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย • สร้างระบบ CRM • สร้างเกณฑ์การประเมินระบบบริหารจัดการ • มีระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย • พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย • สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สร้างเกณฑ์การประเมินระบบการบริหารจัดการ • ประเมินผลการใช้ระบบ • มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง • พัฒนาระบบสื่อสารสังคมให้มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง • สร้างเครือข่ายการสื่อสาร • สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน • มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ • ประสานกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมข้อมูลในการจัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์ • จัดทำแผนยุทธศาตร์แบบบูรณาการ • สื่อสารและถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ • ประเมินแผนยุทธศาสตร์แบบมีส่วนร่วม • มีระบบ M&Eที่มีระสิทธิภาพ • พัฒนาระบบ M&E • เร่งรัดให้มีการนำระบบ M&E สู่การปฏิบัติ • พัฒนาบุคลากรด้าน M&E • ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • มีระบบรับฟังและเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการและเครือข่าย • สำรวจระบบรับฟังและความต้องการของผู้รับบริการและเครือข่าย • ส่งเสริมการให้มีการนำระบบรับฟังและเรียนรู้สู่การปฏิบัติ • มีระบบประเมินผล • องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี • ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีวัฒนธรรมองค์กร • ปลูกฝังให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง • สร้างแรงจูงใจและให้รางวัล • สร้างความเข็มแข็งให้กับองค์กร • มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย • สำรวจฐานข้อมูล • พัฒนาระบบข้อมูล • เชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลให้กับเครือข่ายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ • ประเมินผลการใช้ระบบ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) • บุคลากรมีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ • ปลูกฝังให้มีจิตสำนึก • พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร • สนับสนุนให้มีเวทีแสดงผลงาน

  7. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2554 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ระดับประชาชน (Valuation) 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำ คนไทยต้นแบบ ไร้พุง 15 ประชาชนประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบาย มาตรการทางสังคม กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสาน งานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (Management) 4. มีแผนยุทธที่ศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 7 1.วัฒนธรรมที่ดี

  8. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2554 ของกรมอนามัย 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. KRI 1.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร./อปท. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร./อปท. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : องค์กรสามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน 2.8 แสนคน S :สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 130องค์กร KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ 70% KPI : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง 11.องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง 130 องค์กร 294 ร้าน/21 ราย/7แห่ง/ 1 รูปแบบ KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ 130 แห่ง ระดับภาคี (Stakeholder) 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) 42 แห่ง S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ 130 แห่ง 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 7. มีระบบเฝ้าระวังระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 130 องค์กร S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย ระดับกระบวนการ (Management) KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้ 1 ระบบ 5 ช่องทาง 4. มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม 90% KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง 8 S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนาธรรมอย่างต่อเนื่อง S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน 95% 240 องค์กร KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HAT KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency 90%

  9. 1 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 1. องค์กรมีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี S : ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH (มีต่อ)

  10. 1 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 1. องค์กรมีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี (ต่อ) S : ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH

  11. 2 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 2.บุคลากรมีสมรรถนะที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency

  12. 3 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 3. ระบบฐานขอมูลที่ทันสมัยถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน กลับเมนู SLM O : ชัยชนะ / รัตนาวดี

  13. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 4 ยุทธศาสตร์ 4. มีแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ O : อวัตถ์ เชาวน์ลิลิตกุล ,วิไลสุดา

  14. 5 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด O : กุลพร/ศิริบงกช, ภคพิมล,วรลักษณ์

  15. 6 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  16. 7 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 7.มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้

  17. 8 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน O : นพ. กฤช/ ณัฎฐิรา

  18. 9 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 9 หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร.สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง

  19. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 10. ชุมชนองค์กร/ผู้ผลิต/ผู้ค้า ทุกระดับทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 10 S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้

  20. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 11 ยุทธศาสตร์ 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วน มีนโยบายสาธารณะ มาตรการทางสังคม กฎระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ กลับเมนู SLM O : วรลักษณ์ คงหนู /สุกัญญา

  21. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 12 ยุทธศาสตร์ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้า ทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพ ด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง กลับเมนู SLM O : วิไลลักษณ์ / วุสนธรี / สุพิชชา

  22. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย 13 ยุทธศาสตร์ 13 ชุมชน / องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ กลับเมนู SLM O : วณิชา กิจวรพัฒน์ / นงพะงา

  23. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 14 ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 14 S : สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ KPI : ประชาชนสามรถใช้แหล่งเรียนรู้

  24. 15 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ด้วยตนเอง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. กลับเมนู SLM O : วณิชา / นันทจิต/ นพ. เฉลิมพงศ์

  25. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2556 ของกรมอนามัย ยุทธศาสตร์16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. 16 KRI 1. ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2. ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ

  26. รวมงบประมาณ ปี 53

  27. แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย (คนไทยไร้พุง)กรมอนามัย พ.ศ. 2553 – 2556

  28. 1.วัฒนธรรมที่ดี S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HEALTH

  29. 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ S :พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency

  30. 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน

  31. 4.มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ4.มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ

  32. 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย S :พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

  33. 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง S : สนับสนุนให้มีการประสนงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  34. 7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ /การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบเฝ้าระวัง/สารสนเทศ/องค์ความรู้

  35. 8.สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC KPI : สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน

  36. 9. หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : หน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร.สามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง

  37. 10.ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI 1: ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ KPI 2: ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้

  38. 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบและนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะคนไทยไร้พุง KPI : สมาชิกองค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ

  39. 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิตผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วนมีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและการออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรมคนไทยไร้พุง

  40. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้

  41. 14.ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. S : สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ KPI : ประชาชนสามารถใช้แหล่งเรียนรู้

  42. 15. ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกายและอารมณ์ได้ด้วยตนเอง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนเองด้วย 3 อ.

  43. ขอบพระคุณและสวัสดี 43

More Related