1 / 36

การแปลงทางเรขาคณิต

การแปลงทางเรขาคณิต. F. M. B. N. A /. A. C /. C. B. ขอบคุณ. B /. เสถียร วิเชียรสาร. การแปลงทางเรขาคณิต. F. M. B. N. การแปลงทางเรขาคณิต. การแปลงทางเรขาคณิต. F. M. B. N. การแปลงทางเรขาคณิต. A /. A. C /. C. B. B /. ABC. A / B / C /. จะได้ว่า. A. A /. A. และ. A /.

duena
Télécharger la présentation

การแปลงทางเรขาคณิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B ขอบคุณ B/ เสถียรวิเชียรสาร

  2. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การแปลงทางเรขาคณิต

  3. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การแปลงทางเรขาคณิต A/ A C/ C B B/ ABC A/B/C/ จะได้ว่า A A/ A และ A/ เป็นจุดที่สมนัยกัน จะได้ว่า B B/ B และ B/ เป็นจุดที่สมนัยกัน จะได้ว่า C/ C และ C/ เป็นจุดที่สมนัยกัน C

  4. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน

  5. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การแปลงทางเรขาคณิต การสะท้อน

  6. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การแปลงทางเรขาคณิต การหมุน

  7. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน การเลื่อนขนานบนระนาบ เป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุดทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางที่เท่ากันตามที่กำหนด

  8. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน เวกเตอร์ เป็นตัวกำหนดสำหรับการเลื่อนขนานของรูปเรขาคณิต ว่าจะต้องเลื่อนไปทิศทางใดและเป็นระยะทางเท่าใด A/ A เวกเตอร์ MN เขียนแทนด้วย B/ มีจุดเริ่มต้นที่จุด M B C/ C มีจุดสิ้นสุดที่จุด N M N

  9. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน เมื่อกำหนด และให้ ของการเลื่อนขนาน จะได้ผลดังรูป ตัวอย่าง PQR P/ จากรูปจะเห็นว่า 1 , และ P Q/ R/ ขนานกับ 2 B Q R A

  10. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N สมบัติของการเลื่อนขนาน รูปต้นฉบับและรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานจะต้องทับกันได้สนิท หรือเรียกว่าทั้งสองรูปนั้นมีความเท่ากันทุกประการ 1 2 ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นฉบับและรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนาน จะต้องขนานกัน

  11. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน ตัวอย่าง จงเลื่อนจุด P(3, 2) โดยมีทิศทางและขนาดตาม Y N 6 3 4 M 4 2 X -4 -2 -8 -6 6 4 0 2

  12. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน จากภาพจงบอกพิกัดของจุด พร้อมทั้งพิกัดของจุด เมื่อทำการเลื่อนขนานจุด ตาม ตัวอย่าง Y 5 6 (-3, 5) 4 4 2 (2, 1) X -4 -2 -8 -6 6 4 0 2

  13. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน ให้จุด และจุด เป็นจุดปลายของ และ เป็นเวกเตอร์ของการเลื่อนขนาน จงหาพิกัดของ และ ตัวอย่าง Y 6 (6, 6) 3 (2, 5) 4 5 (1, 3) 2 (-3, 2) X -4 -2 -8 -6 6 4 0 2

  14. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน กำหนด มีจุด จุด และจุด เป็นจุดยอดมุม จงเลื่อน ด้วย ที่กำหนดให้และหาพิกัดของจุดยอดมุมของ ซึ่งเป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานของ ตัวอย่าง ABC ABC ABC A/B/C/

  15. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน Y 4 4 (0, 3) 2 4 (3, 1) (-2, 1) X -2 0 -6 -4 8 6 2 4 (3, -1) -2 (7,-3) (2, -4) -4

  16. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การเลื่อนขนาน กำหนดให้ และมี เป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน จงหาว่าเวกเตอร์ใดเป็นเวกเตอร์ของการเลื่อนขนาน ตัวอย่าง ABC A/B/C/  2  5 2  1 5  2  4

  17. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน

  18. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน เส้นสะท้อน ภาพต้นฉบับ เงา

  19. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง ที่ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด บนระนาบ จะมีจุด เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุด โดยที่ ถ้าจุด ไม่อยู่บนเส้นตรง แล้วเส้นตรง จะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ 1

  20. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง ที่ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด บนระนาบ จะมีจุด เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุด โดยที่ ถ้าจุด อยู่บนเส้นตรง แล้วจุด และจุด จะเป็นจุดเดียวกัน 2

  21. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน

  22. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน

  23. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน

  24. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N สมบัติของการสะท้อน ภาพต้นแบบกับภาพที่ได้จากการสะท้อนจะต้องทับกันได้สนิทโดยต้องทำการพลิกรูป ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นฉบับและรูปที่เกิดจากการสะท้อนของส่วนของเส้นตรงนั้นไม่จำเป็นต้องขนานกัน 1 2 ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ได้จากการสะท้อนจะขนานกัน และไม่จำเป็นต้องยาวเท่ากัน 3

  25. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน การวาดภาพที่เกิดจากการสะท้อนโดยอาศัยการพับตามแนวเส้นสะท้อน

  26. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน การหาเส้นสะท้อนโดยอาศัยการซ้อนทับของรูปต้นแบบกับภาพที่เกิดจากการสะท้อน

  27. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การสะท้อน ตัวอย่าง กำหนด และให้แกน Y เป็นเส้นสะท้อน จงบอกพิกัดของจุดมุมที่เกิดจากการสะท้อน PQRS Y (-2, 5) (2, 5) 4 (0, 2) (5, 2) 2 (0, 2) (-5, 2) X -4 -2 -8 -6 6 4 0 2 -2 (0, -2) (0, -2)

  28. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน

  29. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน ระยะทางในการหมุน ภาพที่เกิดจากการหมุน ภาพต้นฉบับ จุดหมุน

  30. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด เป็นตรึงจุดหนึ่งเป็น จุดหมุน แต่ละจุด บนระนาบ มีจุด เป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด รอบจุด ตามทิศทางที่กำหนดด้วยมุมที่มีขนาด โดยที่ 1 ถ้าจุด ไม่ใช่จุด แล้ว และขนาดของ เท่ากับ 2 ถ้าจุด เป็นจุดเดียวกันกับจุด แล้วจุด เป็นจุดหมุน

  31. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน สิ่งที่นักเรียนจำเป็นต้องใช้ 1 2 3

  32. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน ตัวอย่าง กำหนดจุด เป็นจุดหมุน จงหมุนจุด ในทิศตามเข็มนาฬิกาเป็นระยะ

  33. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน ตัวอย่าง กำหนดจุด เป็นจุดหมุน จงหมุน ในทิศตามเข็มนาฬิกาเป็นระยะ ABC

  34. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน ตัวอย่าง กำหนดจุด เป็นจุดหมุน จงหมุน ในทิศตามเข็มนาฬิกาเป็นระยะ PQR

  35. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N การหมุน ตัวอย่าง กำหนดจุด เป็นจุดหมุน จงหมุน ในทิศทวนเข็มนาฬิกาเป็นระยะ ABC

  36. การแปลงทางเรขาคณิต F M B N สมบัติของการหมุน ภาพต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนจะต้องทับกันได้สนิทโดยต้องทำการพลิกรูป ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นฉบับและรูปที่เกิดจากการหมุนของส่วนของเส้นตรงนั้นไม่จำเป็นต้องขนานกัน 1 2

More Related