1 / 49

สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

AEC. การปรับตัวครั้งสำคัญของผู้ประกอบการไทยเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. การบรรยายในการสัมมนาผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียด้านการส่งเสริมการพัฒนาแรงงานไทย”

Télécharger la présentation

สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC การปรับตัวครั้งสำคัญของผู้ประกอบการไทยเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์ การบรรยายในการสัมมนาผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียด้านการส่งเสริมการพัฒนาแรงงานไทย” จัดโดย กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน , 21 พฤศจิกายน 2553

  2. อาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไรอาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไร มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC FTA อาเซียนกับคู่ค้า การใช้ประโยชน์จาก AEC การเปิดเสรีแรงงานฝีมือใน AEC AEC ได้หรือเสีย? ผลได้ผลเสียของ AEC สำหรับผู้ประกอบการไทยในมุมมองภาคแรงงาน ผู้ประกอบการ/แรงงานไทยพร้อมหรือยัง? ความสามารถแข่งขันของธุรกิจสปาไทยใน AEC ธุรกิจสปาไทยพร้อมแล้วหรือยัง -- เตรียมรุกเตรียนรับ AEC ภาครัฐเตรียมช่วยอย่างไร สาระนำเสนอ

  3. AEC อาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไร ?

  4. ความสำคัญของอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat

  5. ตัวชี้วัดสำคัญของอาเซียน (2009) หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ GDP: ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ FDI : Foreign Direct Investment ที่มา : ASEAN Secretariat หมายเหตุ ตัวเลขที่มีเครื่องหมาย* เป็นสถิติของปี 2008

  6. ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 เทียบกับปี 2552 • ปี 2552 • ปี 2535 ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญ ส่งออกรวม 152,502.4 ล้านเหรียญ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010)

  7. แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 เทียบกับปี 2552 • ปี 2552 • ปี 2535 นำเข้ารวม 133,796.0 ล้านเหรียญ นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010)

  8. AEC …. มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน One Vision, One Identity, One Community

  9. CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967(2510) ก่อตั้ง ASEAN • 1967(2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ • 1984(2527) ขยายสมาชิกบรูไน ASEAN - 6 • 1995(2538) ขยายสมาชิกเวียดนาม CLMV • 1997(2540) ขยายสมาชิกลาว พม่า • 1999(2542) ขยายสมาชิกกัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่………….. 2015(2558)ASEAN Economic Community A E C ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  10. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter • พิมพ์เขียว AEC • AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  11. พิมพ์เขียว AEC • พิมพ์เขียว AEC • AEC Blueprint

  12. AEC อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC?

  13. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมาความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมา สินค้า เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) CEPT ลงนามปี 2535เริ่มปี 2536 ASEAN Free Trade Area (Common Effective Preferential Tariff) บริการ กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มปี 2538 ASEAN Framework Agreement on Services ลงทุน เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มปี 2541 ASEAN Investment Area ความ ร่วมมือ ด้านเกษตร ป่าไม้ สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน e-ASEAN ฯลฯ

  14. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs จัดทำความตกลงการค้าเสรีกับ ประเทศนอกอาเซียน

  15. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1มค2553 ภาษี0% 1 มค 2558 อาเซียน - 6 ภาษี0% เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ลดภาษีนำเข้าสินค้าระหว่างกัน ลดภาษีฯ มาตามลำดับตั้งแต่ 2536

  16. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้องไม่เกิน5% ASEAN – 6 ภายใน 1มค 2553 CLMV ภายใน 1 มค 2558

  17. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูงHighly Sensitive List ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน

  18. อนุญาตให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่ต่ำกว่า……อนุญาตให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่ต่ำกว่า…… เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2549 (2006) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% 70% 70% PIS: Priority Integration Sectors(สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) อะไรบ้างที่เป็นธุรกิจบริการ ? 2. เปิดเสรีการค้าบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/ สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การบิน โลจิสติกส์ 49% 51% สาขาอื่นๆ 30% 49% 51%

  19. ข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆในภาคบริการข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆในภาคบริการ ต้องลด/เลิก ประเทศ ผู้ให้บริการ ประเทศปลายทาง • ข้อจำกัดของการเข้าสู่ตลาดเช่น • การจำกัดสัดส่วนผู้ถือหุ้นต่างชาติ • การจำกัดมูลค่าการให้บริการ • จำกัดจำนวนสถานบริการ • การจำกัดประเภทติติบุคคล • การจำกัดจำนวนบุคคลผู้ให้บริการ • การจำกัดประเภทผู้บริการ • ต้องอนุญาตให้บุคคลากรผู้บริการเข้ามาให้บริการได้

  20. “ภาคบริการ” VS“การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี: ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน” ? ภาคบริการ1.บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ)2. บริการด้านสื่อสาร/โทรคมนาคม3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย5. บริการด้านการศึกษา6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม7. บริการด้านการเงิน8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว 10. บริการด้านนันทนาการ 11. บริการด้านการขนส่ง12. บริการอื่นๆ 20 ภาคที่ไม่ใช่บริการ=ลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม)+ ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา

  21. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 3. เปิดเสรีลงทุน • ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ครอบคลุมทั้งการเปิดเสรี การคุ้มครองการลงทุน การส่งเสริมการลงทุน การอำนวยความสะดวกการลงทุน • สาขาที่ยังไม่พร้อมจะเปิด สามารถสงวนไว้ได้ในตารางข้อสงวน

  22. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก 5. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน

  23. AEC FTA (ความตกลงการค้าเสรี) ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่ค้า

  24. India อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-จีน China AEC อาเซียน- ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ Japan อาเซียน-เกาหลี Australia New Zealand Korea FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน ประเทศบวก 6 ประเทศบวก 3 สินค้า : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน :ลงนาม 13 สค 52 สินค้า: ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน :กำลังเจรจา อาเซียน-ญี่ปุ่น สินค้า/บริการ/ลงทุน: ลงนาม 2551 สำหรับไทย มีผล2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มค. 53 สินค้า /บริการ :อาเซียนอื่นมีผลแล้วตั้งแต่ปี 50 สำหรับไทยบริการ ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มิย 52 สำหรับสินค้ามีผล 1 ตค 52 ลงทุน:ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52

  25. EU AEC ?? Russia GCC MERCOSUR FTA ของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – อนาคต…. Mercado Comun del Surตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง Gulf Cooperation Councils บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเยนตินา ปารากวัย บราซิล อุรุกวัย เวเนซูเอลา

  26. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan AEC Korea India การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… ASEAN 10 : 583 ล้านคน( 9% ของประชากรโลก )GDP (ผลผลิตมวลรวมในประเทศ) 1,275 พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (อาเซียน +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA (อาเซียน +6) : ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)

  27. AEC การใช้ประโยชน์จาก AEC

  28. ภาพของการลงทุนอุตสาหกรรมในอาเซียนเมื่อเข้าสู่ AEC ในห่วงโซ่การผลิต ฐานการผลิต ไม่จำเป็น ต้องอยู่ในประเทศใด ประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว ฐานการผลิตจะอยู่ที่ใด ขึ้นอยู่กับ • ที่ใดจะมีความได้เปรียบสูงสุดในด้านต้นทุนของปัจจัยการผลิต หรือในด้านการตลาด • จำเป็น/ได้เปรียบมากน้อยเพียงใดที่อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ • ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ • สภาพแวดล้อมการลงทุน รวมถึงกฏระเบียบ ข้อกำหนดของภาครัฐ กลยุทธ์สำคัญในการแข่งขัน คือการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก “ฐานการผลิตร่วม” ใน AEC

  29. อาเซียน ห่วงโซ่การผลิตในอาเซียนและส่งออกไปประเทศที่สาม ก่อนที่จะเป็น AEC ส่งไปปักในกัมพูชา คอปกลูกไม้ถักฟิลิปปินส์ กระดุมจากอินโดนีเซีย ผ้าจากมาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย JTEPA ไทย-ญี่ปุ่น TAFTA / TNZCEP ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ กรณีใช้ ความตกลงการค้าเสรีสองฝ่าย ไทย-คู่ค้า

  30. กรณีที่ใช้ประโยชน์อาเซียนเป็นฐานการผลิตร่วมกรณีที่ใช้ประโยชน์อาเซียนเป็นฐานการผลิตร่วม AEC ใช้ความตกลง FTA อาเซียน-คู่ค้า การใช้ประโยชน์การสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า ส่งไปปักในกัมพูชา คอปกลูกไม้ถักฟิลิปปินส์ ฐานการผลิตร่วม กระดุมจากอินโดนีเซีย ผ้าจากมาเลเซีย โรงงานผลิตในไทย สหภาพยุโรป EU อาเซียน - อินเดีย อาเซียน - ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน-ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อาเซียน - จีน ญี่ปุ่น อาเซียน -เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน เกาหลี

  31. AEC การเปิดเสรีแรงงานฝีมือในอาเซียน

  32. AEC ปี 2558 เมื่ออาเซียนเป็น AEC…….. 2015(2558) อาเซียน ที่จัดเป็น“ผู้เชี่ยวชาญในการให้บริการนั้นๆ” เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เปิดเสรีการค้าบริการ ผู้ให้บริการไปทำงานในอาเซียนอื่นได้ แรงงานประเภทวิชาชีพไปประกอบอาชีพในอาเซียนอื่นได้ Skilled labour

  33. ทำอย่างไรให้แรงงานฝีมือสามารถเคลื่อนย้ายได้โดยเสรี ? การทำความตกลงยอมรับร่วมด้านคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก ของอาเซียน (MRA: Mutual Recognition Agreement) • เป็นการยอมรับร่วมเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • ผู้มีวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ ทั้งนี้ จะต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตการประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ ด้วย • เป็นการอำนวยความสะดวกในการขออนุญาตประกอบวิชาชีพในอาเซียนอื่น • นักวิชาชีพที่ประสงค์ไปทำงานในอาเซียนอื่น จะต้องผ่านการประเมินจากคณะกรรมการกำกับดูแล (Monitoring Committee) และขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานที่ประเทศนั้นๆกำหนดให้เป็นหน่วยงานพิจารณาขึ้นทะเบียนวิชาชีพที่เกี่ยวข้องนั้น ซึ่งจะออกใบรับรองคุณสมบัติสมรรถนะให้

  34. MRA ของอาเซียนซึ่งได้ตกลงแล้ว MRA หน่วยงานไทยผู้พิจารณารับขึ้นทะเบียน สาขาวิศวกรรม ลงนามปี 2548 มีผล 2552 ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกที่ยื่นหนังสือเข้าร่วม สภาวิศวกร สาขาสถาปัตยกรรม ลงนามปี 2550 มีผลทันที ใช้กับเฉพาะประเทศสมาชิกที่ยื่นหนังสือเข้าร่วม สภาสถาปนิก ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก สาขาแพทย์ แพทยสภา ลงนามปี 2552 มีผล 6 เดือนหลังลงนาม ใช้กับทุกประเทศสมาชิก สาขาทันตแพทย์ ทันตแพทยสภา สภาวิชาชีพพยาบาล สาขาพยาบาล ลงนามปี 2549 มีผลทันที ใช้กับทุกประเทศสมาชิก กรอบกำหนดแนวทางเพื่อเป็นพี้นฐานการเจรจาทำ MRA ในอนาคต MRA Framework สาขานักสำรวจ ลงนามปี 2550 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ สาขาสถาปัตยกรรม ลงนามปี 2552 ต้องเจรจาในรายละเอียดกันต่อ

  35. AEC AEC ได้หรือเสีย?

  36. ใครบ้างจะได้รับประโยชน์จาก AEC

  37. ใครบ้างจะได้รับผลกระทบจาก AEC

  38. AEC ผลได้/ผลเสียของ AEC สำหรับผู้ประกอบการไทย ในมุมมองภาคแรงงาน

  39. AEC: สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ปี 2558 …….. สินค้า ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้า ระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง บริการ ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี ลงทุน การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี แรงงาน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  40. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้า ระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง  ตลาดใหญ่ขึ้น ความต้องการสินค้ามากขึ้น ไทยสามารถขยายการส่งออก ไปยังตลาดอาเซียนได้มากขึ้น คู่แข่งขยายการส่งออกได้มากกว่า สินค้าไทยสูญเสียส่วนแบ่งตลาด สินค้าจากอาเซียนเข้ามาแข่งในไทย โอกาส ภัยฯ สินค้าไทยมีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม หากสินค้าคู่แข่งจากอาเซียนอื่น มีคุณภาพดีกว่า ถูกกว่า แรงงานไทยต้องมีคุณภาพมาตรฐาน ต้นทุนแรงงานในระดับที่เหมาะสม หากแรงงานในประเทศคู่แข่ง มีคุณภาพ/ต้นทุนแรงงานต่ำกว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  41. AEC: โอกาส (Oppotunities)& ภัยคุกคาม (Threats) ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี  โอกาสขยายตัวของธุรกิจบริการในอาเซียน ไทยสามารถเข้าไปตั้งธุรกิจบริการ ในอาเซียนได้ ธุรกิจบริการไทยมีคู่แข่งเข้ามาแข่ง ธุรกิจใทยในอาเซียนสูญเสียตลาด โอกาส ภัยฯ ผู้ประกอบการไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง หากผู้ประกอบการของอาเซียนอื่นมีความสามารถในการแข่งขันดีกว่า ภาคแรงงาน บุคคลากรต้องมีคุณภาพ หากบุคคลากรของประเทศคู่แข่ง มีคุณภาพกว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  42. AEC: โอกาส (Oppotunities)& ภัยคุกคาม (Threats) การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี  ฐานการผลิตจะไปอยู่ที่มีความได้เปรียบสูงสุด ไทยอาจย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศอาเซียนอื่นที่ทำให้ได้เปรียบขึ้น บริษัทต่างประเทศที่อยู่ในไทยอาจย้ายฐานการผลิตไปอาเซียนอื่น เช่น CLMV โอกาส ภัยฯ การตั้งโรงงานผลิตในไทย มีความได้เปรียบ การตั้งโรงงานผลิตใน CLMVได้เปรียบกว่า ภาคแรงงาน แรงงานมีคุณภาพ / ข้อกำหนดเกี่ยวกับแรงงานไม่เข้มงวดเกินไป แรงงานในประเทศคู่แข่ง มีคุณภาพกว่า/เงื่อนไขน้อยกว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  43. AEC -โอกาส (Opportunities)& ภัยคุกคาม (Threats) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี  แรงงานฝีมือ สามารถจะไปทำงานที่ใดก็ได้ในอาเซียน โอกาส อาจถูกประเทศคู่แข่ง แย่งแรงงานฝีมือไป ไทยสามารถหาแรงงานฝีมือ สาขาที่ขาดแคลนจากอาเซียนอื่นได้ ภัยฯ • ความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อมการทำงานในไทยที่สะดวกสบาย • สภาพเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยในสาขาที่รุดหน้า • สิ่งจูงใจ เช่น ค่าจ้างที่สูงกว่า ความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ฯลฯ • ลูกจ้างขาดความรู้สึกผูกพันกับบริษัทที่ทำงานอยู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  44. AEC ผู้ประกอบการ / แรงงานไทยพร้อมหรือยัง? --- เตรียมรุกเตรียมรับ AEC ---

  45. ความสามารถในการแข่งขันของแรงงานไทยความสามารถในการแข่งขันของแรงงานไทย จุดแข่ง (Strength)&จุดอ่อน (Weakness) จุดแข็ง คุณลักษณะพิเศษของคนไทย (อ่อนหวาน อ่อนน้อม ละเมียดละไม รอยยิ้มServices Mind ฯลฯ) มีความคิดสร้างสรรค์ มีการสนับสนุนจากภาครัฐในการพัฒนาทักษะแรงงาน คุณภาพการศึกษาอยู่ในระดับสูง (พอควร) แรงงานวิชาชีพเป็นที่ยอมรับ จุดอ่อน ขาดความสามารถด้านภาษาอังกฤษ รวมถึงภาษาในอาเซียน ขาดความรอบรู้ในด้านสังคม วัฒนธรรม ฯลฯ ของเพื่อนบ้านอาเซียน การรักษาวินัยยังไม่เพียงพอ มักคิดว่า “ไม่เป็นไร” ขาดการวางแผน ไม่ถนัดกับการทำงานเป็นทีม

  46. การเตรียมปรับตัวเพื่อรับ AEC เตรียมความพร้อมเชิงรุก • เปลี่ยนวิสัยทัศน์จากมองเชิงรับเป็นเชิงรุก อย่ามัวแต่กลัวว่าจะแข่งไม่ได้ แต่ต้องเสาะหาโอกาสที่เปิดกว้างขึ้น สำหรับ ผู้ประกอบการ • หาวิธีลดต้นทุนธุรกิจ /หาแหล่งนำเข้าวัตถุดิบในอาเซียน • พิจารณาการใช้ AEC เป็น”ฐานการผลิตร่วม” ข้อคิด • ศึกษาตลาดรสนิยมความต้องการของตลาดอาเซียน • เสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อนของสินค้า/บริการของตน • สร้างความแตกต่างด้วยความคิดสร้างสรรค์ • คิดนอกกรอบ “โอกาสไม่ได้อยู่แค่ที่มองเห็น” ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  47. การเตรียมปรับตัวเพื่อรับ AEC การทำธุรกิจโดย “ไร้พรมแดน” ในอาเซียน แรงงานจะเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่งในการตัดสินใจว่าลงทุนที่ใด สำหรับ ภาคแรงงาน สร้างเสริมทักษะแรงงาน ฝึกฝนสมรรถนะ ภาษา ความรู้ด้านวัฒนธรรม ฯลฯ รักษาจุดแข็งของ “Thainess” ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ต้องเตรียมพร้อมบุคคลากร ทำอย่างไรให้เขาอยู่กับเรา ภาครัฐ นโยบายเกี่ยวกับค่าตอบแทนแรงงานที่เหมาะสม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  48. สรุป อาเซียนจะเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)ในปี 2558(2015) ไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่วมของอาเซียน ภาษีนำเข้าจะเป็นศูนย์ ในอาเซียนุ-6 ณ 1 มค 2553 ใน CLMV ณ 1 มค 2558 จะไปทำธุรกิจภาคบริการ หรือไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้อย่างเสรี ขณะเดียวกัน ไทยจะต้องเปิดเสรีถึง 70% ในปี 2558 ด้านแรงงาน โอกาสที่กว้างขึ้นของแรงงานทักษะ นักวิชาชีพ ในขณะที่จะช่วยแก้ไขปัญหาสำหรับอุตสาหกรรมที่ขาดแคลนแรงงานทักษะ ผลของ AEC ที่จะเกิดขึ้นมีทั้งได้และเสีย ต้องกระตุ้นให้มีการปรับตัว คิดหาการเตรียมตัวรับมือ สำหรับผู้ที่อาจเสีย/ได้รับผลกระทบ มองหาลู่ทางการใช้ประโยชน์ สำหรับผู้ที่จะได้ประโยชน์ ควรใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก มากกว่าคิดแต่จะตั้งรับ

  49. T M H L Y A M A L A Y S I A I O N L P M S C A M B O D I A I N R R R N D U G I N D O N E S I E P V I E T N A M O R P H I L I P P I N E S ปี 2558 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) A S E A N แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน • www.thaifta.com(กรมเจรจาฯ) และเข้าไปที่“ASEAN Conner” • www.asean.org(เวปไซต์ของสำนักเลขาธิการอาเซียน) • Call Center 02-507-7555 • สำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน02-507-7236 A

More Related