1 / 38

เสนอโดย นายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน

เสนอโดย นายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน. โรงไฟฟ้าชุมชน พื้นที่บ้านเขาน้อย ตำบลดงปะคำ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. ที่มา : www.mdbc.gov.au. การผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2549. พลังงานทดแทน 1.0 %. รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ. ถ่านหินนำเข้า 3.8 %. 141,980 ล้านหน่วย.

elaine
Télécharger la présentation

เสนอโดย นายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เสนอโดยนายชาติ ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมพัฒนาชุมชน โรงไฟฟ้าชุมชน พื้นที่บ้านเขาน้อย ตำบลดงปะคำ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก

  2. ที่มา : www.mdbc.gov.au

  3. การผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2549 พลังงานทดแทน 1.0% รวมพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อ ถ่านหินนำเข้า 3.8% 141,980 ล้านหน่วย น้ำมันเตา 7.4% ลิกไนต์ 12.4% ก๊าซธรรมชาติ 66.2% พลังน้ำ 7.4% รับซื้อไฟฟ้า จากมาเลเซีย 1.7% น้ำมันดีเซล 0.1%

  4. แนวทางแก้ไขด้านพลังงานแนวทางแก้ไขด้านพลังงาน • รัฐบาลกำหนดแนวทางด้านพลังงาน ลดการผลิตพลังงานตามแนวทางเดิมเหลือ 80% 20% ส่งเสริมการพึ่งพาพลังงานทดแทนในประเทศ • ส่งเสริมด้านการกำกับกิจการพลังงานทดแทนเชิงภาคีความร่วมมือ • ส่งเสริมกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานชุมชน • ฯลฯ

  5. โรงไฟฟ้าชีวมวล ใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้เพื่อให้เกิดความร้อนในการผลิตไอน้ำทดแทนการใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิล (น้ำมัน , ถ่านหิน , ก๊าซธรรมชาติ )

  6. “ ชีวมวล” มูลสัตว์ มันสำปะหลัง เศษไม้ ซังข้าวโพด ของเสีย ชานอ้อย แกลบ

  7. กระถิ่นยักษ์ กระถินยักษ์ อายุ 7 เดือน

  8. ผลผลิตเฉลี่ยคิดเป็นน้ำหนักแห้ง/ไร่/ปี โดยจำแนกตามปริมาณน้ำฝนและระยะปลูก

  9. หญ้าเนเปียร์ (Dwarf Napier) เนเปียร์เป็นหญ้าที่มีอายุหลายปี มีลำต้นใต้ดินเป็นแบบเหง้า ลักษณะทรงต้นเป็นกอพุ่ม ตั้ง ลำต้นอวบและเตี้ยกว่าหญ้าเนเปียร์ธรรมดา มีความสูงประมาณ 1-2 เมตร มีการแตกกอดี มีสัดส่วนของใบมากกว่าส่วนของลำต้น สามารถทนแล้งได้ดีพอสมควร ให้ผลผลิตน้ำหนักแห้งประมาณ 25 ตันต่อไร่ต่อปี การใช้ประโยชน์ : การตัดหญ้าเนเปียร์แคระไปเลี้ยงสัตว์ ควรตัดครั้งแรกที่อายุ 60-70 วันหลังปลูก และควรตัดครั้งต่อไปทุก 30-45 วัน ช่วงฤดูฝนหญ้าโตเร็วอาจตัดที่อายุน้อยกว่า 30 วัน

  10. โรงไฟฟ้าชีวมวลกับชุมชนโรงไฟฟ้าชีวมวลกับชุมชน

  11. โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รูปแบบหนึ่งของการใช้พลังงานทดแทน

  12. โรงไฟฟ้าชีวมวล คือ รูปแบบหนึ่งของการใช้พลังงานทดแทน

  13. ตัวอย่าง โรงไฟฟ้าชีวมวล เอ.ที. ไบโอพาวเวอร์ พิจิตร 1 ใน 62 โรงไฟฟ้าจากแกลบทั่วประเทศ

  14. สรุป : โรงไฟฟ้าชีวมวล

  15. 1. ระบบโรงไฟฟ้าชีวมวล ปัจจุบันเป็นระบบปิด ระบบการจัดการน้ำหมุนเวียนในโรงไฟฟ้า

  16. 2.ระบบการจัดการเถ้าฝุ่นละอองและขี้เถ้าในตนเอง2.ระบบการจัดการเถ้าฝุ่นละอองและขี้เถ้าในตนเอง มีระบบดักกรองฝุ่นขี้เถ้า ฝุ่นละอองและขี้เถ้าจะถูกดักเก็บ ไม่ปล่อยสู่อากาศและพื้นดิน

  17. 3. มีระบบจัดเก็บขึ้ถ้าแกลบเพื่อนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ -ขายให้โรงปุ๋ยชีวภาพ -ให้ชุมชนรอบโรงงานนำไปใช้ประโยชน์

  18. หน่วยงานรับผิดชอบ • อุตสาหกรรม • สิ่งแวดล้อม • พลังงาน • กำกับกิจกรรมพลังงาน • อบต. • ผู้ใหญ่บ้าน • คณะกรรมการ • ชุมชน

  19. ประโยชน์ของโครงการสู่ท้องถิ่นประโยชน์ของโครงการสู่ท้องถิ่น 1. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการขายเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่เคยปล่อยทิ้งไว้หรือเผากำจัดไปโดยเปล่าประโยชน์ เช่น แกลบ ฟางข้าว ซังข้าวโพด ต้นข้าวโพด เศษไม้ฯลฯ 2. เศรษฐกิจชุมชนคึกคักและเจริญเติบโต จากรายได้สู่ชุมชนผ่านทางภาษีท้องที่ที่โครงการต้องจ่าย การจ้างงานในชุมชน และการสร้างรายได้จากราคาผลผลิตทางการเกษตรที่คาดว่าจะดีขึ้น

  20. 3. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอาชีพ และการสร้างงานฝีมือขึ้นในท้องถิ่น พร้อมกระตุ้นระบบเศรษฐกิจชุมชนด้วยเงินหมุนเวียนเปลี่ยนมือที่เพิ่มมากขึ้น 4. เพิ่มมูลค่าและลดปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น ทำให้เกิดการบริหารจัดการกองแกลบและซังข้าวโพดและการเผาเศษวัสดุเหลือใช้ดังกล่าวอย่างเป็นระบบและถูกวิธี อันเป็นผลทำให้ท้องถิ่นสะอาดยิ่งขึ้น

  21. 5. จัดตั้ง “กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า” เพื่อนำเงินกองทุนมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน 6. สร้างความมั่นคงด้านกระแสไฟฟ้าให้กับชุมชนและบริเวณใกล้เคียง เช่น ปัญหาไฟฟ้าตกและฟ้าดับในพื้นที่จะลดน้อยลง ฯลฯ และช่วยรองรับการเจริญเติบโตของชุมชนในอนาคต

  22. 7. เป็นสถานที่ศึกษาดูงานและเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชนและสำหรับสถานการศึกษาโดยทั่วไป และบุตรหลานของชาวบ้านในพื้นที่ 8. เป็นพลังงานทางเลือกที่ได้รับการยอมรับในทั่วโลกแล้วว่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานให้กับประเทศไทย และลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

  23. 9. ลดการเกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน ผ่านกลไกการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ตามหลักกลไกสะอาด 10. สร้างชื่อเสียงให้กับชุมชนและประเทศชาติ โดยเฉพาะในเวทีระดับโลก เช่น องค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ฯลฯ ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

  24. ผลกระทบด้านลบ • มีคู่แข่งในการนำชีวมวลไปใช้ประโยชน์ • เกิดความแตกแยกในชุมชนถ้ามีการคัดค้าน • กระบวนการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล จำเป็นต้องมีกระบวนการเผาไหม้ จึงเป็นสิ่งที่ชุมชนมีความกังวลเรื่องผลกระทบ ด้านเสียง ฝุ่นละออง น้ำเสีย อากาศ

  25. การแก้ไขอุปสรรค • การตรวจสอบ / การวัดผลตลอดเวลา • สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ้าว่ามีแหล่งน้ำเพียงพอ • ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง • จุดเชื่อมโยงเข้าระบบไฟฟ้าหรือสถานีย่อยไฟฟ้าของกฟผ. • สถานที่ตั้งควรห่างจากชุมชน เพื่อลดผลกระทบระหว่างการก่อสร้าง • สร้างการสร้างโรงเก็บวัตถุดิบที่มีขนาดเพียงพอและสามารถป้องกันเสื่อมสภาพและการส่งกลิ่นรบกวน • จัดระบบการขนส่งวัตถุดิบที่จะเกิดผลกระทบกับวิถีชีวิตของชุมชน • ต้องมีเวทีสร้างความเข้าใจ และยอมรับเงื่อนไขของชุมชน

  26. โจทย์ โรงไฟฟ้าที่สามารถสร้างประโยชน์ และเป็นเครื่องมือในการพัฒนาชุมชน จะต้องมีหน้าตาเป็นอย่างไร

  27. คำถามที่ต้องหาคำตอบ • เอื้อประโยชน์ต่อชุมชน เช่นเป็นการพัฒนาอาชีพหรือทำให้ชุมชนมีความมั่งคงด้านอาชีพ • อยู่ร่วมกันอย่างเป็นมิตรไม่สร้างความแตกแยก • ไม่เป็นการส่งเสริมให้เกิดการปลูกพืชที่ทำลายสิ่งแวดล้อมของชุมชน • ลดการเผาวัสดุเหลือใช้การเกษตรแบบกลางแจ้งให้เป็นระบบปิดเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม • สามารถเกิดความมั่นคงด้านพลังงานของชุมชน • ชุมชนสามารถร่วมกันตัดสินใจรับหรือไม่รับแบบมีส่วนร่วมและโปร่งใส • ชุมชนมีความรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีก่อนการตัดสินใจหรือยัง

  28. หัวใจพลังชุมชน • สร้างกระบวนการตัดสินใจแบบมีส่วนร่วมของชุมชนให้ความสำคัญต่อการให้ข้อมูลอย่างครบถ้วน จริงใจและโปร่งใส เชื่อถือได้ 2. จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับชุมชนเพื่อการเข้าถึงความรู้ เทคโนโลยี ก่อนการตัดสินใจ 3. ปฏิบัติตามระเบียบราชการและเงื่อนไขของชุมชน • แสวงหาเครื่องมือหรือกลไกในการประกอบการตัดสินใจเช่น องค์กรรัฐ / องค์กรเอกชน / องค์กรวิชาการ/องค์กรที่ชุมชนเชื่อถือฯลฯ

  29. โรงไฟฟ้า 1,000 กิโลวัตต์ เชื้อเพลิงต่อวัน 20 ตัน/วัน x จำนวนวันที่โรงไฟฟ้าทำงานต่อปี 300 วัน/ปี = 6,000 ตันต่อปี ถ้าซื้อราคาตันละ 500 บาท เป็นเงิน 3,000,000 บาท/ปี ปริมาณใช้น้ำในระบบหมุนวน ที่ต้องใช้ต่อวัน ประมาณ 120 ลบ.เมตร สูญเสียน้ำจากการระเหย ประมาณ ดังนั้นต้องมีบ่อน้ำที่สามารถสำรองน้ำได้ 2 ปี ประมาณ ลิตร • ขี้เถ้าแกลบจะมีปริมาณร้อยละ 16 โดยน้ำหนัก

  30. ก่อนก้าวพร้อมหรือยัง 1.ชีวมวล มีมั๊ยพอมั๊ย ข้อมูลด้านชีวมวลในพื้นที่เช่น จะหามาจากไหนเพิ่ม หรือคิดว่าจะหาอะไรเพิ่มเพื่อให้ชุมชนได้ประโยชน์มากที่สุด 2. สนใจมั๊ย ในเบื้องต้นชุมชนให้ความสำคัญหรือสนใจไหม 3.ทีมงานละมีมั๊ย สร้างกลไกการทำงานเพื่อใช้หลัก หัวใจพลังชุมชน 4.จะพากันไปที่ไหน อย่างไร ศูนย์วิจัยพลังงานชุมชน วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร

  31. เริ่มก้าว • 1.พื้นที่ผลิตชีวมวลจำนวน 300ไร่ อยู่ที่ไหน • 2.สถานที่ตั้งของโรงไฟฟ้าอยู่ที่ไหน • -มีแหล่งน้ำเพียงพอ • -ไม่ไกลแหล่งวัตถุดิบ • -จุดเชื่อมโยงเข้าระบบไฟฟ้า • -สถานที่ตั้งควรห่างจากชุมชน • 3.โครงสร้าง/กลไกการขับเคลื่อน • 4.เวทีเพื่อสร้างแนวร่วม

  32. เราพร้อมก้าวไปกับท่านเราพร้อมก้าวไปกับท่าน วิสัยทัศน์ : ชุมชนสามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เหมาะสมกับความเชื่อ วิถีวัฒนธรรมและอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างเป็นมิตร ขอบคุณครับ

  33. ขอบคุณครับ

More Related