1 / 23

การตรวจราชการ และนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2552

การตรวจราชการ และนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2552. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และ งานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. คำสั่ง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ 3352/2551 แต่งตั้งผู้นิเทศก์งานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ. หน้าที่

Télécharger la présentation

การตรวจราชการ และนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจราชการ และนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2552 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และ งานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  2. คำสั่ง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ 3352/2551แต่งตั้งผู้นิเทศก์งานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ หน้าที่ 1. ประสาน และเตรียมความพร้อม เพื่อร่วมออกตรวจนิเทศและติดตามงานตามแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในพื้นที่ 2. วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลบริการปฐมภูมิที่จะออกนิเทศ ติดตาม ตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด 3. ติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ ตัวชี้วัด พร้อมทั้งวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีผลต่อการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน 4. สนับสนุนการดำเนินงาน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไข ปัญหาอุปสรรค และทราบความก้าวหน้าของแผนกลยุทธ์จังหวัด 5. สรุปผลการนิเทศ ติดตามพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เสนอผู้ตรวจราชการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  3. แนวทางการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ระดับ สสจ. โครงสร้างและกลไกการดำเนินงาน

  4. แนวทางการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ระดับ สสจ. ด้านการบริหารจัดการ

  5. แนวทางการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ระดับอำเภอ โครงสร้างและกลไกการดำเนินงาน

  6. แนวทางการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ระดับอำเภอ ด้านการบริหารจัดการ

  7. แนวทางการนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงาน ระดับตำบล โครงสร้างและกลไกการดำเนินงาน

  8. สรุปผลการตรวจราชการ- เพชรบุรี : 22 – 23 ม.ค.52- สมุทรสงคราม : 4 – 6 ก.พ.52- สมุทรสาคร : 11 – 13 ก.พ.52- ประจวบฯ : 11 – 13 มี.ค.52

  9. ระบบบริการปฐมภูมิ ระดับจังหวัด  ด้านโครงสร้างและกลไก - 3 จังหวัดมีการแต่งตั้ง คกก. ยกเว้นสมุทรสาคร ยังไม่มี คกก. แต่มีผู้รับผิดชอบงาน 1 คน  กลไกในการดำเนินงาน - จังหวัดที่มีกรรมการ มีกลไกในการดำเนินงานตามภารกิจ แต่ยังไม่ชัดเจน ยังไม่สามารถตอบสนองต่อการบริหารจัดการในทุกมิติได้ - มีการวางแผนการประชุม คกก. (พบ./ปข.)

  10. ระบบบริการปฐมภูมิ ระดับจังหวัด (ต่อ)  ด้านการบริหารจัดการ - การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ : - สมุทรสาครยังไม่ได้จัดทำ - ที่เหลือจัดทำแล้ว แต่ยังไม่สมบูรณ์ (สมุทรสงครามยังไม่เชื่อมโยงทุกมิติ แผนเป็นแบบแยกส่วน , เพชรบุรีและประจวบฯ มีแผนเชื่อมโยงทั้งระบบ แต่ยังขาดการนำแผนไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม)

  11. ระบบบริการปฐมภูมิ ระดับจังหวัด (ต่อ)  ระบบการจัดสรรงบประมาณ UC - การดูแลงบประมาณ : ยังไม่มีผู้รับผิดชอบดูแลงบประมาณที่เป็นภาพรวมทั้งระบบ (การจัดสรร การดูแลติดตามที่เชื่อมโยงการพัฒนาปฐมภูมิทั้งระบบ) - การจัดสรรงบฯ : จัดสรรตามเงื่อนไขที่ สปสช.กำหนด แต่มีความแตกต่างกันที่วิธีการจัดสรร

  12. ระบบบริการปฐมภูมิ 2. ระดับอำเภอ  ด้านโครงสร้างและกลไก - ทุก CUP มี คกก.ชัดเจน  กลไกในการดำเนินงาน - ทุก CUP มีการบริหารจัดการตามภารกิจ ชัดเจน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน HCA เป็นหลัก แต่ความเข้มแข็งและกระบวนการทำงานยังแตกต่างกัน

  13. ระบบบริการปฐมภูมิ 2. ระดับอำเภอ  ด้านบริหารจัดการ - การสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย : ทุก CUP ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ ยาและเวชภัณฑ์อย่างพอเพียง แต่ในส่วนของกำลังคน พบว่า 3 จังหวัดให้การสนับสนุนได้ดี ยกเว้นประจวบฯ

  14. ระบบบริการปฐมภูมิ 3. ระดับตำบล  การบูรณาการแผนงานโครงการ : อปท./ชุมชน ให้การสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณในการดำเนินงาน และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม/โครงการต่างๆ อย่างเข้มแข็ง  การวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาสุขภาพ : ยังไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับปัญหาของ CUP (ไร่ใหม่พัฒนา)

  15. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับจังหวัด  ด้านโครงสร้างและกลไก - มี คกก.ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับจังหวัด/อำเภอ ทำหน้าที่พิจารณาโครงการ

  16. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับจังหวัด  ด้านการบริหารจัดการ - การวิเคราะห์ข้อมูลและสภาพปัญหา : ส่วนใหญ่ยังเน้นการวิเคราะห์โรคมากกว่าสถานะสุขภาพทั้งระบบ (ยกเว้นประจวบฯ) - การจัดสรรงบประมาณ : - PP.E จัดสรรให้ CUP ตามหัวประชากร และให้อำนาจ CUP บริหารจัดการ มีการควบคุม กำกับ และติดตามประเมินผล ( 3 จังหวัด ยกเว้น สค.)

  17. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับจังหวัด - PP.A : - จัดสรรแบบรวมศูนย์ 2 จังหวัด (พบ.,ปข.) - จัดสรรแบบแบ่งส่วนหนึ่งให้ CUP ตามหัวประชากร โดยให้ CUP เขียนโครงการเข้ามา defend ขอใช้งบตามส่วนที่ได้จัดสรร + ส่วนหนึ่งกันไว้ที่จังหวัดเพื่อใช้ในโครงการตามนโยบายเร่งด่วน (สส./สค.)

  18. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับจังหวัด  ด้านคุณภาพของแผน (ประจวบฯ) - ส่วนใหญ่ยังไม่มีการบูรณาการแผน ยกเว้นประจวบฯ ที่มีการบูรณาการตั้งแต่การค้นหาปัญหา, การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง, การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ในการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม - การตั้งเป้าหมาย (บางโครงการ)ยังไม่สอดคล้องกับเป้าประสงค์ที่แท้จริงของโครงการ

  19. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับจังหวัด  ด้านกองทุนสุขภาพระดับตำบล - ทุกจังหวัดมีการขอโครงการจากระดับตำบลมาใช้เพื่อการกำกับ ติดตาม ประเมินผล (ยกเว้น สค. ขอจาก สปสช.เขต) แต่ยังไม่มีอำนาจ/ระบบที่ชัดเจน - ความครอบคลุม : สส. มีกองทุนฯ ครอบคลุมทุกตำบล - คกก. : จังหวัด/อำเภอไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม , ระดับตำบลมีเพียง 1 คน

  20. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2. ระดับอำเภอ  ด้านโครงสร้างและกลไก - มี คกก. ระดับอำเภอ - มีการตั้งเป้าหมายการประชุม คกก.

  21. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2. ระดับอำเภอ  ด้านการบริหารจัดการ - การจัดสรรงบประมาณ : ตามเงื่อนไขของ สปสช. และตามประมาณการรายจ่ายของแต่ละ PCU - การติดตามกำกับงบประมาณ : ติดตามตามโครงการที่เสนอขอใช้งบประมาณ

  22. การบริหาร ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3. ระดับตำบล  ระบบการสนับสนุน : สอดคล้องกับข้อมูลการให้การสนับสนุนระดับ CUP ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาทั้งด้านงบประมาณ ยาและเวชภัณฑ์ และกำลังคน (ยกเว้น ปข.ที่ขาดแคลนด้านกำลังคน)  การเชื่อมประสานกับกองทุนตำบล : บางกองทุนไม่สามารถประสานให้เกิดผลการปฏิบัติงานได้ (ปข.)

  23. ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ  KPI vs. สภาวะสุขภาพ  การเชื่อมโยงและการนำแผนไปใช้  ยังไม่มีระบบการประเมินแผน  วิธีการบริหารจัดการงบ PP.A แตกต่างกันขึ้นกับการบริหารจัดการของแต่ละจังหวัด

More Related