1 / 17

ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ. ภก. วัฒนา อัคร เอกฒาลิน ผู้อำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ. เครื่องสำอาง. ผลิตภัณฑ์อาหาร. สารระเหย. ผลิตภัณฑ์สุขภาพ. ยาเสพติดให้โทษ. เครื่องมือแพทย์.

Télécharger la présentation

ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพทิศทางดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภก.วัฒนา อัครเอกฒาลิน ผู้อำนวยการสำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  2. ขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพขอบเขตความรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหาร สารระเหย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยาเสพติดให้โทษ เครื่องมือแพทย์ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน ผลิตภัณฑ์ยา

  3. 1. บทบาทหน้าที่ สำนักงาน อย. 1.1 ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยอาหารยา เครื่องสำอาง เครื่องมือ แพทย์ วัตถุอันตราย วัตถุออกฤทธิ์ฯ ยาเสพติดฯ สารระเหย และ คณะกรรมการ อาหารแห่งชาติ (รวม 9 ฉบับ) 1.2 เฝ้าระวัง กำกับและตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน 1.3 ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และระบบงาน 1.4 พัฒนาผู้บริโภคให้มีศักยภาพในการเลือกบริโภค 1.5 พัฒนาและส่งเสริมงาน คบส.โดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

  4. 2. การดำเนินการที่สำคัญ 2.1 การคุ้มครองความปลอดภัยด้านยา การพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ประกาศใช้ฉบับแรก พ.ศ. 2524 ปรับปรุง พ.ศ. 2547 : รายการยา 629 รายการ พ.ศ. 2551 : - ประกาศใช้ 27 ธันวาคม 2551 - รายการยา 891 รายการ - บัญชียาจากสมุนไพร 30 รายการ - เภสัชตำรับโรงพยาบาล 82 รายการ ผลที่ได้รับ • พัฒนาระบบกำกับประเมินและดูแลการใช้จ่ายยาอย่างเข้มงวด • ยามีประสิทธิภาพ ครอบคลุมโรคหรืออาการเจ็บป่วยมากขึ้น • ราคายาถูกลง • ทบทวนปรับปรุงรายการยาเป็นระบบ

  5. 2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.2 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร • Mobile Unitปี2539-ปัจจุบัน 17 คัน : ส่วนกลาง 5 คัน • : ภูมิภาค 12 คัน • ลดสารปนเปื้อน 6 ชนิดในอาหารสด • ลดลงจาก ร้อยละ 32.65 ปี 2546 • เหลือ ร้อยละ 2.05 ปี 2551 • กำกับดูแลการนำเข้าอาหาร ณ ด่านอาหารและยาทั่วประเทศ จำนวน 35 แห่ง

  6. 2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.3 การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านเครื่องสำอาง เครื่องสำอางอันตราย เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผสมสารห้ามใช้ 3 ชนิด ได้แก่ ไฮโดรควิโนน ปรอท กรดเรทิโนอิก

  7. 2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.4 การตรวจสอบเฝ้าระวังการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ การโฆษณาไม่ถูกต้องของทุกผลิตภัณฑ์ ลดลง (ปี 2549 – 2552) ร้อยละ 7.02 ปี 2549 เป็นร้อยละ 2.96 ปี 2551 และร้อยละ 3.07 ปี 2552 ( 6 เดือน) ผลิตภัณฑ์ที่พบไม่ถูกต้องมากที่สุดเรียงตามลำดับ (ปี 2552) ได้แก่ เครื่องมือแพทย์ (40.28%) วัตถุเสพติด (6.12%) อาหาร (3.88%) เครื่องสำอาง (2.36%) ยา(1.06%) วัตถุอันตราย (0%) แนวทางการตรวจสอบ ตรวจสอบชิ้นงานโฆษณา : ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล สถานที่ ประมวลหลักฐาน : ข้อมูลไม่ชัดเจน ไม่เพียงพอ - ตักเตือน : ไม่ฝ่าฝืน - ยุติเรื่อง : ฝ่าฝืน - ดำเนินการตามกฎหมาย เช่น แจ้งระงับ เปรียบเทียบปรับ

  8. 2. การดำเนินการที่สำคัญ (ต่อ) 2.5 การเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่สำคัญได้แก่ การดำเนินคดีกับผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน การดำเนินคดีตามพระราชบัญญัติ โดยการเปรียบเทียบปรับ (รวมทุกผลิตภัณฑ์) พ.ศ. 2549 2550 2551 2552(6 เดือน) * จำนวน (ราย) 927 743 1,078 365 หมายเหตุ * ปี2552 ข้อมูลเฉพาะ กทม.(6 เดือน) ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีการดำเนินคดีมากที่สุดเรียงตามลำดับ (ปี 2552) ได้แก่ ยา อาหาร เครื่องมือแพทย์ วัตถุออกฤทธิ์ เครื่องสำอาง

  9. 3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. ขยายขอบเขตความครอบคลุม การเข้าถึง 3.1 การมอบอำนาจการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่จังหวัด ถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง และวัตถุอันตราย) ระดับจังหวัด • แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติตาม พรบ. • มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้อนุญาต แทน เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ตามพระราชบัญญัติ ระดับอำเภอ • แต่งตั้งสาธารณสุขอำเภอทั่วประเทศ เภสัชกร โรงพยาบาลชุมชน และเภสัชกรโรงพยาบาลทั่วไปในพื้นที่นอกเขตอำเภอเมืองที่ไม่มีโรงพยาบาลชุมชนตั้งอยู่ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย 3 ฉบับ คือ • พระราชบัญญัติอาหาร พระราชบัญญัติยา • พระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย

  10. 3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. (ต่อ) 3.2 การถ่ายโอนบทบาท / ภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร ยา เครื่องมือแพทย์ เครื่องสำอาง และวัตถุอันตราย) กทม. พัทยา เทศบาล ภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ภารกิจที่ถ่ายโอนแล้ว แต่งตั้งพนักงาน เจ้าหน้าที่ ตามพรบ. อาหาร พ.ศ. 2522 ภารกิจที่เตรียม การถ่ายโอน ปี52 เตรียมความพร้อมถ่ายโอนภารกิจการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอาง ณ สถานที่จำหน่าย

  11. 3. การพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคของ อย. (ต่อ) 3.3 การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาชน ก. การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ข. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการ อย. น้อย(3.3)

  12. ก. การพัฒนาศักยภาพเครือข่าย อสม. • จัดประกวด อสม. ดีเด่น ระดับเขต ระดับภาค และ ระดับประเทศ • จัดอบรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเครือข่าย อสม.

  13. ข. ประชาสัมพันธ์เชิงรุกโครงการ อย. น้อยโครงการ อย.น้อย • สมาชิก อย. น้อยทั่วประเทศ จำนวน 1,000,000 คน • โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเข้าร่วมโครงการ จำนวน 10,000 โรงเรียน - จัดทำหลักสูตร อย. น้อย ทดลองใช้ในเรียนเรียนนำร่องแล้ว 20 โรงเรียน เพิ่มเป็น 400 โรงเรียนในปี 2552 - จัดทำโครงการประกวด อย. น้อย ปี 2552 คัดเลือกโครงงานต้นแบบให้แก่ อย. น้อย ทั่วประเทศ

  14. สรุปเครือข่ายการทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ของ อย. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สสจ. . ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เทศบาล และ อบต. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค สสอ. รพช. และ สอ. ภาคประชาชน อสม. และอย.น้อย

  15. ทิศทางและนโยบายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคประจำปี 2553

  16. พัฒนากฎหมาย ประสาน/บูรณาการงานกับหน่วยงาน ที่เป็นแหล่งงบประมาณ Pre-marketing คุณภาพงานบริการ การอนุญาตก่อนออกสู่ท้องตลาด งาน คบส. OSSC ส่งเสริมงานคบส. ส่วนภูมิภาค Post-marketing คุณภาพงานบริการ เพิ่มช่องทางร้องเรียน เพิ่มช่องทางการประสานงานส่วนภูมิภาค รองฯ นรังสันต์ ภาคอีสาน เพิ่มความเข้มแข็ง/พัฒนาองค์ความรู้ของเครือข่าย เช่น อปท. อสม. และ อย.น้อย รองฯ วีรวรรณ ภาคเหนือ รองฯ พงศ์พันธ์ ภาคใต้ เพิ่มความเข้มแข็งส่วนสนับสนุน เพิ่มความเข้มแข็งในงานหลัก ส่วนกลาง

  17. ขอบคุณครับ

More Related