1 / 72

ผล PAP และการดูแลรักษา

ผล PAP และการดูแลรักษา. โดย พญ. เปรมฤดี อริยานนท์ รพ.นครปฐม. Bartholin’s abscess. Marsupialization. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ. อายุและสถานภาพสมรส อาการสำคัญที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ เช่นตกขาว, ตกเลือด การเจ็บป่วยจากปัจจุบันและอดีต

ellery
Télécharger la présentation

ผล PAP และการดูแลรักษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผล PAP และการดูแลรักษา โดย พญ.เปรมฤดี อริยานนท์ รพ.นครปฐม

  2. Bartholin’s abscess

  3. Marsupialization

  4. ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ • อายุและสถานภาพสมรส • อาการสำคัญที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ เช่นตกขาว, ตกเลือด • การเจ็บป่วยจากปัจจุบันและอดีต • การเจ็บป่วยในครอบครัวหรือโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม • ประวัติระดู อายุเริ่มมีระดูครั้งแรก, ลักษณะเลือดที่ออก, ระยะเวลาที่มา,ปริมาณเลือดที่ออก, ระดูปกติครั้งสุดท้าย (LMP) • ประวัติการตั้งครรภ์, การคุมกำเนิด, การมีบุตร, การแท้งการคลอดบุตร • ประวัติการแพ้ยา, อาหาร

  5. อาการคัน

  6. คันที่ปากช่องคลอด • การซักประวัติ ระยะเวลาที่เกิดอาการ, สิ่งกระตุ้น, ความสัมพันธ์กับรอบระดู, การคุมกำเนิด, อาการหลังเพศสัมพันธุ์ • การตรวจร่างกาย ตรวจบริเวณปากช่องคลอด, ช่องคลอด, ปากมดลูก

  7. ระดูขาว (leukorrhea)

  8. ระดูขาว (leukorrhea) • ระดูขาวปกติ เป็นระดูขาวที่พบในภาวะปกติเป็นส่วนผสมของสิ่งซึ่งขับออกจากต่อมต่างๆของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ • ระดูขาวผิดปกติ มีลักษณะและกลิ่นผิดปกติ อาจมีอาการคัน ปวดแสบร้อนบริเวณปากช่องคลอดหรือบริเวณใกล้เคียง

  9. ระดูขาวปกติมาจาก • Bartholin’s gland จะขับน้ำเมือกออกมาหล่อลื่นช่องคลอดส่วนล่างและปากช่องคลอด • Sweat gland, sebaceous gland บริเวณ vulva และ paraurethral gland(skene’s gland) • Vagina หลุดร่วงจากเซลล์ชั้นผิวของเยื่อบุผนังช่องคลอด • Cervix โดยการขับน้ำเมือกจาก endocervical gland • Uterine secretion จาก endometrial gland • Tubal secretion

  10. ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้นระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น • ช่วงใกล้ตกไข่ estrogen จะกระตุ้น endocervical glands หลั่งน้ำเมือกจำนวนมาก • ระยะก่อนมีระดู 2-3 วัน เลือดมาหล่อเลี้ยงเพิ่มทำให้ secretion จากทุกส่วนเพิ่ม • การตั้งครรภ์ มีการร่วงของเซลล์บุผนังช่องคลอดและน้ำเมือกจาก endocervical glands เพิ่มมากขึ้น • ขณะร่วมเพศ จะทำให้ secretion จาก bartholin’s glands เพิ่มขึ้น

  11. ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้นระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น • ทารกแรกเกิดเพศหญิง อาจพบมีระดูขาวลักษณะเป็นเมือกภายใน 1-10 วันแรกภายหลังคลอด เป็นผลจากการกระตุ้นมดลูกและช่องคลอดโดยเอสโตรเจนจากรก • ระยะวัยรุ่นคือก่อนหรือหลังมีระดูครั้งแรก ประมาณ 2-3 ปีแต่จะมีอาการเพียงชั่วคราวและหายไปได้เอง

  12. สาเหตุระดูขาวผิดปกติ • การติดเชื้อ เช่น TV, เชื้อรา, หนองใน • ปากมดลูกอักเสบและเป็นแผล • สิ่งแปลกปลอมในช่องคลอด • แผลที่ปากช่องคลอดและปากมดลูก • เนื้องอกและมะเร็งของช่องคลอดหรือปากมดลูก • สาเหตุอื่นๆ เช่น fistula

  13. สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรคสาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค

  14. สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรคสาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค

  15. Gonococcal vaginitis • เกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrhoeae • Gm – diplococci (coffee bean) เชื้อมักอยู่ที่ urethra, paraurethra ducts and glands, endocervix, Bartholin’s glands • ตกขาวเป็นหนอง (mucopurulent discharge), ปัสสาวะแสบขัด • บางครั้งบวมแดงและคันบริเวณ vulva • ใช้นิ้วรีดท่อปัสสาวะจะมีหนองไหลออกมา • Bartholin’s gland อาจโตได้เนื่องจากมีการอักเสบ

  16. Mucopurulent discharge

  17. การวินิจฉัย • Wet smear พบ WBC จำนวนมาก • Gm stained จาก urethra และ endocervix พบ Gm – diplococci (intracellular diplococci)

  18. การรักษา

  19. การรักษา

  20. การรักษา • ยาในกลุ่ม quinolone ไม่ควรให้ในสตรีตั้งครรภ์ • ควรรักษาคู่นอนด้วย

  21. Chlamydia trachomatis • เชื้อต้นเหตุหนองในเทียม • บ่อยครั้งที่พบว่าสาเหตุของ urethritis เกิดจากเชื้อหนองในและ chlamydia trachomatis

  22. ลักษณะทางคลินิก • ผู้ชายจะมีหนองไหลออกทางท่อปัสสาวะ มีลักษณะเป็น mucopurulent discharge with meatal erythema และพบว่าร้อยละ 25 จะไม่มีอาการ

  23. การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • Giemsa’s staining, PAP smear • PCR (Polymerase chain reaction) แม่นยำที่สุด

  24. การรักษา • Doxycycline (100 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน • Tetracycline HCL (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน • Azithromycin 1 g รับประทานครั้งเดียว • สำหรับหญิงตั้งครรภ์ให้ Erythromycin (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน

  25. Herpes genitalis • เป็นแล้วไม่หายขาด สามารถแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้ • เด็กที่คลอดผ่านทางคลอดที่มีเชื้อไวรัสนี้ เด็กจะติดเชื้อแต่กำเนิดมีโอกาสที่จะตาย • ที่อวัยวะสืบพันธุ์เกิดจาก HSV-2

  26. การวินิจฉัย • แผลที่เกิดจากการแตกออกของ vesicle กลมๆเล็กๆหลายๆอัน รวมเป็นแผลตื้นที่มีรูปเป็นวงๆมาต่อกัน เรียกว่า multi-ring appearance • PAP smear ต้องขูดให้ได้เซลล์ จะพบเป็น multinuclear giant cell with nuclear ground glass appearance

  27. เว็บไซต์ | ภาพขนาดเต็ม ‹› เว็บไซต์ | ภาพขนาดเต็ม ‹›  ›   ‹ Herpes simplex

  28. การรักษา • Acyclovir (200 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 5 ครั้ง นาน 5 วัน ยาทาใช้กรณีแผลเริ่มแห้งแล้ว ระยะแรกควรเป็น wet dressing • Valaciclovir (500 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน แผลหายเร็วขึ้นและยับยั้งการเป็นซ้ำได้ดี • Famciclovir (125 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน แต่ในการยืดเวลาของการเป็นซ้ำควรให้ 500 mg ต่อ วัน

  29. Condyloma acuminata • เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV) • ลักษณะเหมือนหงอนไก่ ชอบอยู่บริเวณอับชื้น • อย่างน้อยร้อยละ 10 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ลักษณะปกติ แต่มีเชื้อหูดหงอนไก่

  30. Condyloma acuminata

  31. การรักษา • การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • Surgery • Immunotherapy

  32. การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรคการรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • Podophyllins ไม่ควรใช้ยานี้ในหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่มาก เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง เช่น coma, vascular crisis และ respiratory failure การใช้รักษาหูดหงอนไก่ในผู้ป่วยตั้งครรภ์นั้นเป็นข้อห้าม เพราะมีรายงาน 20% podophyllin ทำให้เกิด intrauterine fetal death จาก severe constriction of placental vessels • Trichloracetic acid ผลข้างเคียงน้อยกว่า podophylline ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผลดีพอควร ไม่นิยมใช้ป้ายในช่องคลอดหรือที่ปากมดลูก เพราะความเปียกชื้นทำให้ยากระจาย

  33. การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรคการรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ายที่รอยโรค • 5-Fluorouracil (5-FU) 1% รูปครีม ยับยั้งการสร้าง DNA ได้ผลดี • Liquid nitrogen มักใช้กับหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่เกิน 5 mm • 5% Imiquimod (Aldara) cream ผู้ป่วยสามารถทาเองที่บ้านสัปดาห์ละ 3 วัน หลังป้ายยา 6-10 ชม. หรือหลังตื่นนอนควรล้างออกด้วยน้ำสบู่

  34. Surgery • Simple surgical procedures • Electric cauterization • Cryosurgery • Laser surgery

  35. Immunotherapy • Alpha-interferons ส่วนใหญ่เป็นยาฉีด ช่วยให้การรักษาได้ผลดีขึ้น • Vaccine

  36. candida • สาเหตุ จาก candida albicans อาจมีลักษณะเป็น yeast cells หรือเป็น pseudohyphae • สำหรับ yeast cells ส่วนใหญ่พบเป็น normal flora อยู่ในช่องคลอด แต่ pseudohyphae มักพบในผู้ป่วยที่มีอาการแล้ว • ตกขาวลักษณะสีเหลืองหรือขาวเป็นก้อนคล้ายนมข้น ผนังช่องคลอดมีการอักเสบบวมแดง มีอาการคันในช่องคลอด อวัยวะเพศภายนอกมีอาการอักเสบบวมแดงและคัน • ภาวะต่างๆ เช่น ตั้งครรภ์,เบาหวาน,ภูมิคุ้มกันต่ำ,การเจ็บป่วยเรื้อรัง,การใช้ยาปฏิชีวนะ,ยาคุมกำเนิดนานๆ,คนอ้วนมากๆ พบมาก

  37. candida

  38. Candida • การอักเสบของช่องคลอดที่เกิดจากเชื้อรา เป็นเรื่องที่พบได้บ่อย • เชื้อราที่เป็นต้นเหตุมีหลายชนิด ได้แก่ Candida albicans พบร้อยละ 80-90

  39. ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอดปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด • การตั้งครรภ์ พบสูงกว่าหญิงไม่ตั้งครรภ์ ประมาณ 2 เท่า (เอสโตรเจนที่สูงขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์จะทำให้ปริมาณ glycogen ในเยื่อบุช่องคลอดมากขึ้น) • โรคเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี • ยาปฏิชีวนะไปทำลายเชื้อที่อยู่ในลักษณะสมดุลกับเชื้อราในช่องคลอด • ยาคุมกำเนิด พบเชื้อราในช่องคลอดในผู้ป่วยที่กินยาคุมกำเนิด ประมาณ ร้อยละ 20-45 (เอสโตรเจนเพิ่มปริมาณ glycogen)

  40. ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอดปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด • ยา steroid ทำให้มีการติดเชื้อแบบแพร่กระจายได้ง่าย • ความบกพร่องของภูมิต้านทาน • ใส่เสื้อผ้าที่คับเกินไป • เพศสัมพันธ์

  41. การวินิจฉัย • การทำ wet smear คือ เอาตกขาวผสมน้ำเกลือ 1-2 หยดบนแผ่นกระจกสไลด์ แล้วหยด 10% KOH ดูกล้องจุลทรรศ์จะเห็น hyphea • การทำ Gram’s stained ดูด้วยกล้องขยาย พบ pseudohyphae และ budding cell ติดสี gram positive

  42. การรักษา (uncomplicate)

  43. การรักษา (uncomplicate)

  44. การรักษา • สตรีตั้งครรภ์ควรใช้ชนิดสอด • รักษาคู่นอน ใช้ยาทา เช้า - เย็น

More Related