1 / 95

www.crcn.in.th

การประเมินผล การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2555. www.crcn.in.th. วัตถุประสงค์ของโครงการ.

elvis
Télécharger la présentation

www.crcn.in.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครปี 2554-2555 www.crcn.in.th

  2. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ • เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และหรือโรคความดันโลหิตสูงจากเวชระเบียนผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า • เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และหรือโรคความดันโลหิตสูงจากเวชระเบียนผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปีพ.ศ.ปัจจุบันกับผลการประเมินการดูแลรักษาของปีที่ผ่านมา • เพื่อหาความชุกของผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการรักษาในหน่วยบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมมากกว่าที่ได้ดำเนินการในปี 2553

  3. เกณฑ์มาตรฐาน (ตัวชี้วัด) • ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2ใช้ตัวชี้วัดที่ถูกพัฒนาและกำหนดโดยเครือข่าย TCEN(Toward Clinical Excellence’ Network)และ CPG โรคเบาหวาน • ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ใช้ตัวชี้วัดที่ถูกพัฒนาและกำหนดโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และสปสช. WWW.CRCN.IN.TH

  4. ตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ความชุก(Prevalence)และอัตราการเกิดโรค(Incidence) • การตรวจหาระดับ Fasting blood sugar อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ ≥70และ≤130 mg/dl • การตรวจหาระดับHbA1cประจำปี • การตรวจพบระดับ HbA1c< 7% • การรักษาในโรงพยาบาลเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันจากโรคเบาหวาน • การตรวจวิเคราะห์ Lipid profile ประจำปี • การตรวจพบระดับLDL ของผู้ป่วย < 100 mg/dl • การตรวจพบระดับความดันโลหิตสูง ≤ 130/80 mmHg • การตรวจหาระดับ Microalbuminuria ประจำปี • การได้รับยากลุ่ม ACE inhibitor หรือ ARB ของผู้ป่วยที่มีMicroalbuminuria • การตรวจจอประสาทตาประจำปีของผู้ป่วย • การตรวจสุขภาพช่องปากประจำปีของผู้ป่วย

  5. ตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 • การตรวจเท้าอย่างละเอียดประจำปีของผู้ป่วย • การตรวจพบแผลที่เท้าในผู้ป่วย • การตัดนิ้วเท้า, เท้า หรือขาในผู้ป่วย • การสอนให้ตรวจและดูเท้าด้วยตนเองหรือสอนผู้ดูแลอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี • การให้คำแนะนำปรึกษาให้เลิกสูบบุหรี่ในผู้ป่วย • การตรวจหา Diabetic retinopathy ในผู้ป่วย • การตรวจหา Diabetic nephropathy ในผู้ป่วย • การตรวจพบ Myocardial infarction ในผู้ป่วย • การตรวจพบ Cerebral infarction ในผู้ป่วย • ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง Impaired fasting glucose (IFG) • การส่งกลับ/ส่งต่อผู้ที่ควบคุมเบาหวานได้ไปดูแลที่ศูนย์สุขภาพชุมชน /โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)

  6. ตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงตัวชี้วัดผลลัพธ์การให้บริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง • การตรวจพบระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ < 140/90 mmHg • การได้รับการตรวจติดตาม (follow up) อย่างน้อยสองครั้งในรอบปีที่ผ่านมา • การตรวจร่างกาย และตรวจทางห้องปฏิบัติการประจำปี • การตรวจพบภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วย • การตรวจพบภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดสมองในผู้ป่วย • การตรวจพบภาวะผิดปกติทางไตในผู้ป่วยในผู้ป่วย • ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สูบบุหรี่ซึ่งได้รับคำแนะนำปรึกษาให้เลิกสูบบุหรี่ WWW.CRCN.IN.TH

  7. ขั้นตอนการดำเนินงาน • จัดประชุมชี้แจงผู้ประสานงานโครงการ • เตรียมชุดแบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย(CRF version14 dated 5 March 2555) • เลือกเวชระเบียนของผู้ป่วยจากฐานข้อมูลผู้ป่วยมาตามนัดในช่วงวันที่ 15 เมย. – 15 มิ.ย.2555 • ชี้แจงและขอความยินยอม WWW.CRCN.IN.TH

  8. การขอความยินยอม ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล • ชี้แจงเกี่ยวกับโครงการ (เอกสารชี้แจง) • ขอความยินยอมจากผู้ป่วยโดยให้ลงนามแสดงความยินยอมในหนังสือแสดงเจตนายินยอม และฉีกสำเนาเอกสารสีชมพูให้ผู้ป่วย เก็บสีขาวไว้ที่รพ. • ดำเนินการในสถานที่ที่โรงพยาบาลเห็นเหมาะสม WWW.CRCN.IN.TH

  9. การขอความยินยอม (2) • ผู้ป่วยสามารถซักถามได้จนเข้าใจชัดเจน • ผู้ป่วยสามารถแสดงความยินยอมได้อย่างอิสระ โดยไม่มีผลต่อกระบวนการการรักษาจากแพทย์ของโรงพยาบาล WWW.CRCN.IN.TH

  10. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลไปตามลำดับผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ที่หน่วยบริการฯ ที่ OPD จนครบตามจำนวนที่กำหนดในแต่ละโรค • ในช่วงวันที่ 15 เมษายน–15 มิ.ย.2555 • ไม่เอาผู้ป่วย Admit ในแผนก IPD* • เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ในหน่วยบริการของโรงพยาบาล • ไม่มีการข้ามเวชระเบียน และผู้ป่วยยินยอมเข้าร่วมโครงการฯ • ระบุผู้ป่วยว่าเป็นผู้ป่วยที่มาตรงนัด หรือไม่ตรงนัด ณ.วันที่มาติดตามการรักษาในหน้าแรกของ แบบบันทึกข้อมูล WWW.CRCN.IN.TH

  11. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล • ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องในรพ. เป็นระยะเวลามากกว่าหรือเท่ากับ 12 เดือน(1 ปีขึ้นไป) • การค้นหาผู้ป่วย ต้องครอบคลุมทุกOPDที่ให้การดูแลรักษา • ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง (ทั้งในและนอกเวลา)เช่น OPD เฉพาะโรคเบาหวาน&ความดัน ,OPD อายุรกรรมทั่วไป ,OPD เวชศาสตร์ครอบครัว,OPD ตรวจโรคทั่วไป / ประกันสังคม WWW.CRCN.IN.TH

  12. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล • ทบทวนเวชระเบียนตามตัวชี้วัดที่ปรากฏเป็นข้อคำถามในแบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (CRF) • การเก็บข้อมูลผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะเก็บคู่ ขนานกันไปกับการเก็บข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิต สูง(แยกเก็บ)ให้ได้จำนวนตามที่กำหนดในแต่ละโรคและเป็นสัดส่วนในแต่ละOPD WWW.CRCN.IN.TH

  13. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล • บันทึกตามความเป็นจริงที่ปรากฏใน • เวชระเบียนกระดาษ (OPD card) • เวชระเบียนอิเลคทรอนิกส์ (OPD Online) • แฟ้มข้อมูลผู้ป่วยของคลินิกเฉพาะโรค • ฐานข้อมูลทางห้องปฏิบัติการ (Log book หรือ online) • สมุดประจำตัวผู้ป่วย (สมุดเด็กดี) WWW.CRCN.IN.TH

  14. ขั้นตอนการเก็บข้อมูล • ไม่มีการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและแพทย์ • ไม่มีการตรวจร่างกายผู้ป่วยแต่อย่างใด • ระยะเวลาในการเก็บข้อมูลนาน 2 เดือน กำหนดส่งงานไม่เกินวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 WWW.CRCN.IN.TH

  15. ขั้นตอนการดำเนินการเมื่อแล้วเสร็จขั้นตอนการดำเนินการเมื่อแล้วเสร็จ 1. แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย (CRF) จะถูกส่งทางไปรษณีย์มายังหน่วยบริหารจัดการข้อมูลของ CRCN 2. บันทึกข้อมูลด้วยการสแกนคอมพิวเตอร์ 3. วิเคราะห์ข้อมูล แปลผล 4. รายงานผลการศึกษาวิจัยให้กับ สปสช. WWW.CRCN.IN.TH

  16. หน้าปกของแบบบันทึกข้อมูลหน้าปกของแบบบันทึกข้อมูล รหัสประจำตัว ท่านต้องเป็นผู้ให้รหัสและกรอกเอง รหัส รพ.CRCN เป็นผู้กำหนดให้ แต่ท่านต้องกรอกเอง WWW.CRCN.IN.TH

  17. หน้าปกของแบบบันทึกข้อมูลหน้าปกของแบบบันทึกข้อมูล ขอความกรุณาให้ท่านระบุจุดบริการที่ผู้ป่วยมาติดตามการรักษาว่าเป็น OPDประเภทใด WWW.CRCN.IN.TH

  18. ข้อตกลงในการกรอกข้อมูลข้อตกลงในการกรอกข้อมูล • หัวกระดาษของข้อคำถามจะมีข้อมูลรหัสประจำตัวและรหัสโรง พยาบาลเหมือนกันทุกแผ่น • โปรดกรอกรหัสประจำตัวและรหัสโรงพยาบาลให้ครบทุกหน้าเพื่อใช้จำแนกว่าแผ่นใดเป็นของผู้ป่วยรายใด • ระบุว่าเป็นผู้ป่วยที่มาตรงนัด/ไม่ตรงนัดในการมารับบริการครั้งนี้ • รายละเอียดและขั้นตอนการบันทึกตามเอกสารที่แจ้งวิธีการบันทึก Patient Log WWW.CRCN.IN.TH

  19. ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • เพศ • อายุ(พ.ศ. 2555 – พ.ศ. เกิด) • อาชีพ • ศาสนา • สิทธิการรักษา • ประเภทของโรค (เฉพาะเบาหวาน และความดันโลหิต) • น้ำหนัก (ล่าสุด = ต้องไม่เกิน 12 เดือน) • ส่วนสูง(ล่าสุด) WWW.CRCN.IN.TH

  20. รอบเอว(Waist Circumference) • รอบสะดือ (L4-L5) • กึ่งกลางระหว่างซี่โครงซี่สุดท้ายกับส่วนบนสุดของกระดูกสะโพก (L2-L3) • ส่วนบนสุดของกระดูกสะโพก (L1) • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูลในเวชระเบียน WWW.CRCN.IN.TH

  21. WaistCircumference WWW.CRCN.IN.TH

  22. ตัวอย่างการวัด Waist Circumference WWW.CRCN.IN.TH

  23. แบบบันทึกข้อมูลโครงการ CASE RECORD Form (CRF)ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (DM type II) คำอธิบายการกรอกแบบบันทึกข้อมูล

  24. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน ข้อที่10.ระยะเวลา ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานหรือรักษา ณ รพ.นั้น ให้พิจารณาจากประวัติการรักษา • การซักประวัติของแพทย์ที่อาจจะระบุว่า ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เมื่อใด กี่ปีมาแล้ว หรือ • ดูระยะเวลาของการมาติดตามการรักษาว่ามีระยะเวลามากกว่าเท่ากับ 12 เดือนหรือไม่ ช่วยย้ำเตือน (remind) WWW.CRCN.IN.TH

  25. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ข้อ 11. ปีพ.ศ.ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานหรือรักษา ณ รพ.นั้นให้พิจารณาจากประวัติการรักษา • การซักประวัติของแพทย์ที่อาจจะระบุว่า ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เมื่อใด • ปีพ.ศ.ที่ผู้ป่วยเริ่มมารักษาในโรงพยาบาลครั้งแรกตามที่ปรากฏในเวชระเบียน • กรณีมีการทำลายเวชระเบียนทุก 5 ปีให้กรอกปีพ.ศ.ที่เริ่มมารักษาของเวชระเบียนเล่มใหม่ WWW.CRCN.IN.TH

  26. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ข้อ ที่ 12. ประเภทของผู้ป่วยที่มารักษา ณ รพ.นั้น ในวันนัด • ผู้ป่วยที่มารักษาประจำที่โรงพยาบาลหมายถึง ผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่ OPD หรือคลินิกของโรงพยาบาลเป็นประจำ • ไม่ได้ถูกส่งต่อมาจาก PCU หรือส่งปรึกษามาจากโรงพยาบาลอื่น • ผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อมาจาก PCUหมายถึง ผู้ป่วยที่รักษาที่หน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ รพ.สต. หรือสถานีอนามัยเป็นประจำแล้ว โดยมีรหัส HN:ของผู้ป่วยในรพ.ที่เก็บข้อมูล • ถูกส่งต่อมาปรึกษา หรือมารับยาหรือมาประเมินภาวะแทรกซ้อนที่โรงพยาบาลของท่านเป็นครั้งคราว ซึ่งอาจจะมีหลายครั้งในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา หรือนานๆครั้งแต่มีประวัติในโรงพยาบาลมานานกว่า 12 เดือนก็ได้ WWW.CRCN.IN.TH

  27. ส่วนที่ 2ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน ข้อ 13.วันเดือนปีที่ผู้ป่วยเข้ามารับ การรักษาครั้งล่าสุด WWW.CRCN.IN.TH

  28. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 14. Fasting Plasma Glucose (FPG) ในช่วง 12 เดือน(ไม่ใช่ระดับน้ำตาลอดอาหาร 8 ช.ม. แบบ DTX) • เจาะเลือดผ่านเส้น vein ซึ่งไม่ใช่จากปลายนิ้ว หรือ Capillary tube และต้องผ่านการตรวจด้วยเครื่องอัตโนมัติ • ครั้งที่ 1ค่า FPG ครั้งล่าสุดที่มาติดตามการรักษา • ครั้งที่ 2ค่า FPG ก่อนหน้าครั้งล่าสุดนั่นคือค่า FPG ถัดมาจากครั้งที่ 1 ซึ่งต้องจะอยู่ในห้วง 12 เดือนหรือไม่ก็ได้เช่นกัน • ให้ระบุวัน เดือน ปีที่แพทย์สั่งตรวจหาระดับ FPG • การเลือกตอบข้อ“ไม่ได้รับการตรวจ” จะหมายรวมถึง การไม่ปรากฏข้อมูลในเวชระเบียนด้วย WWW.CRCN.IN.TH

  29. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 15. ระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้วโดยใช้ Dipstick (DTx) ครั้งล่าสุด ในช่วง 12 เดือนและให้ระบุวัน เดือน ปีที่แพทย์สั่งตรวจหาระดับ DTx(กรณี follow up) 16.การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลหลังรับประทานอาหาร(Postprandial Blood Glucose)ให้กรอกค่าที่มารับการรักษาในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ครั้งล่าสุดนับจากวันที่เข้าร่วมโครงการ และระบุวันเดือนปีที่เจาะเลือดตรวจด้วย WWW.CRCN.IN.TH

  30. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 17.1-17.11การตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ของผู้ป่วยเบาหวานครั้งล่าสุดที่มาติดตามการรักษาในช่วง 12 เดือน • 17.1) Hb A1C • 17.2) Hemoglobin • 17.3) Serum BUN • 17.4) Serum Creatinine

  31. ส่วนที่2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน (ต่อ) การตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ของผู้ป่วยเบาหวานครั้งล่าสุดที่มาติดตามการรักษาในช่วง 12เดือน • 17.5) Serum Potassium • 17.6) Serum Uric Acid • 17.7) Total Cholesterol • 17.8) Triglyceride • 17.9) HDL Cholesterol • 17.10) LDL Cholesterol • 17.11)Estimated GFR

  32. ส่วนที่2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ให้กรอกค่าครั้งล่าสุดที่แพทย์สั่งตรวจในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา • นับจากวันที่เข้าร่วมโครงการ ระบุวันเดือนปีที่เจาะเลือดตรวจด้วย • การเลือกตอบข้อ“ไม่ได้รับการตรวจ” จะหมายรวมถึงการไม่ปรากฏข้อมูลในเวชระเบียนด้วย WWW.CRCN.IN.TH

  33. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 17.7-17.10 การตรวจ Lipid profile ในช่วง 12 เดือน • สำหรับ LDLให้ระบุว่าเป็นแบบ • Measured-LDL/Direct-LDLคือ เครื่องตรวจจะวัดระดับ LDL จากเลือดโดยตรงหรือ • Calculated-LDL คือ เครื่องตรวจจะคำนวณอัตโนมัติ • กรณีโรงพยาบาลมีการรายงานค่า LDL ทั้งสองแบบให้เลือกเฉพาะค่า Measured-LDL/Direct-LDL มากรอกเท่านั้น • ไม่รู้ว่า LDL ที่ได้นั้นเป็นค่าแบบใดให้สอบถามจากเจ้าหน้าที่ตรวจเลือดในห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาล WWW.CRCN.IN.TH

  34. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ให้กรอกผลการตรวจครั้งล่าสุดของแต่ละตัว • พร้อมระบุวันที่ที่ได้รับการตรวจด้วย • กรณีที่มี Triglyceride (TG) ≥ 360ขึ้นไปเครื่องตรวจอาจจะไม่รายงานระดับ LDL-cholesterol หรือรายงานว่า “ไม่สามารถคำนวณได้” ก็ให้เลือกตอบตัวเลือก • “คำนวณไม่ได้ เนื่องจาก TG สูงมาก” หรือ ถ้ามีการรายงานค่า LDL-cholesterol ก็ให้กรอกลงค่า LDL ไปตามความเป็นจริง WWW.CRCN.IN.TH

  35. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน Tips การตรวจ GFR ข้อ 17.11 ในช่วง 12 เดือน • ให้ระบุค่าที่ตรวจโดยใช้หน่วย ml/min/1.73 m3และระบุวันเดือนปีที่เจาะเลือดตรวจด้วย • ให้ระบุวิธีการคำนวณค่า GFR ที่โรงพยาบาลของท่านใช้ว่า คำนวณด้วยสูตรใด(ดูสูตรได้ในคำอธิบายข้อคำถามช่วยในการกรอกข้อมูลหน้าซ้ายมือ 3/11) เลือกตอบได้เพียงสูตรเดียวเท่านั้น • ถ้าโรงพยาบาลไม่ได้คำนวณและบันทึกค่า GFR ในเวชระเบียน= ไม่ได้รับการตรวจ WWW.CRCN.IN.TH

  36. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 18. ระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยเบาหวานที่มาติดตามการรักษาจำนวน 2 ครั้ง • ให้กรอกข้อมูลความดันโลหิตในช่วง 12 เดือนที่ผู้ป่วยมาติดตามการรักษาที่ OPD • ครั้งที่ 1ค่า BP ครั้งล่าสุดในการมาติดตามการรักษาโรคเบาหวาน • ครั้งที่ 2ค่า BP ก่อนหน้าครั้งล่าสุด นั่นคือวันก่อนเข้าร่วมโครงการ ซึ่งต้องอยู่ในห้วง 12 เดือนเช่นกัน และระบุวันเดือนปีที่ผู้ป่วยมาติดตามการรักษาพร้อมทั้งระบุวิธีการวัดว่าเป็นแบบใด หากไม่มีข้อในเวชระเบียนให้ตอบว่า “ไม่ทราบ”

  37. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 19. การได้รับยา Aspirin หรือ Clopidogrel (เช่น Plavix®, Pidogen®, Apolets®) • พิจารณาข้อมูลในผู้ป่วยเบาหวานทุกรายว่า วันที่มาตามนัดนั้นผู้ป่วยได้ยาตัวใด • ตอบได้เพียง 1 ข้อ • ให้ระบุวันที่มาติดตามการรักษาด้วย • ถ้าไม่ได้รับยา โปรดระบุ เหตุผลที่ไม่ได้รับยา

  38. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 20. ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานแบบเฉียบพลันในช่วง12 เดือนที่ผ่านมา 1. ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานเฉียบพลัน 2. มีภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานเฉียบพลัน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) • 2.1 ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) • 2.2 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบบ Diabetic ketoacidosis; DKA • 2.3 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบบ Hyperosmolar Non-ketotic Hyperglycemic Syndrome, HNHS • 2.4 ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) ที่ไม่ระบุว่าเป็นแบบใด

  39. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน นิยามของ Hypoglycemia, DKA ,และ HNHS • Hypoglycemia;หมายถึง ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ plasma glucose < 70 mg/dL, มีอาการแสดง, และอาการหายไปเมื่อได้รับน้ำตาล • Diabetic ketoacidosis; DKA หมายถึง ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ≥ 250 mg/dLและมี metabolic acidosisร่วมกับ High anion gap และ pH < 7.35 และมี serum ketoneให้ผลเป็นบวก(1 : 2 dilution) WWW.CRCN.IN.TH

  40. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • Hyperosmolar non-ketotic hyperglycemic syndrome; HNHSหมายถึง ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ≥ 500 mg/dLและมีserum osmolality > 350 mOsm/H2Oอาจมีserum ketone 0 – 1+ได้ • Hyperglycemiaหมายถึง ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ที่ไม่ระบุว่าเป็นแบบใด WWW.CRCN.IN.TH

  41. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ให้พิจารณาเฉพาะอาการแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันเท่านั้น • กรณีที่ผู้ป่วยเกิดโรคแทรกซ้อนของเบาหวานแบบเฉียบพลันหลายโรคในเวลาที่ต่างกันในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา ให้ตอบได้มากกว่า 1ข้อ ผู้ป่วยต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล (Admit) เนื่องจากป่วยด้วยภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานแบบเฉียบพลันนั้นหรือไม่ กรณีที่ไม่ปรากฏข้อมูลหรือหลักฐานว่าผู้ป่วยได้รับการ Admit ให้ตอบว่าไม่มีข้อมูล • ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานแบบเฉียบพลันเลยให้ตอบ 1และข้ามไปทำข้อ 20 ต่อไป WWW.CRCN.IN.TH

  42. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 21. การตรวจหา Albumin/ Protein ในปัสสาวะเพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในรอบ 12 เดือน • หากไม่พบข้อมูลในเวชระเบียน สมุดทะเบียนหรือฐานข้อมูล ให้ตอบตัวเลือกข้อ 1 • ไ่ม่ได้รับการตรวจหากได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น DN • ตรวจแต่พบว่ามีการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ • การตรวจในรพ.แต่ละแห่งจะรายงานผลการตรวจแตกต่างกันซึ่งจำแนกได้ 4 กรณีดังนี้ให้เลือกตอบเพียงกรณีเดียวเท่านั้น WWW.CRCN.IN.TH

  43. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 21. การตรวจหา Albumin/ Protein ในปัสสาวะเพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในรอบ 12 เดือน • กรณีที่ 1 ใช้ Urine Dipstick ทั่วไป/ UA ที่เป็น Urine Dipstick • ผลเป็นลบซึ่งไม่พบ Albumin/ Proteinแต่แพทย์อาจจะส่งตรวจวิเคราะห์ Albumin/Creatinine Ratio เพื่อยืนยันการเกิดภาวะ Albuminuriaต่อไป ดังนั้นต้องตรวจสอบด้วยว่ามีผลที่แพทย์ส่งตรวจ Albumin/Creatinin Ratio หรือไม่ WWW.CRCN.IN.TH

  44. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • ผลเป็น Trace คือการตรวจพบ albumin ในปัสสาวะ ≤ 10 mg/100ml หรือ 150 mg/24 hrs ซึ่งสามารถพบได้ใน normal urine และยังไม่ถึงระดับที่จะเป็นภาวะ Microalbuminuriaถือว่าเป็นลบดังนั้นให้ตอบตัวเลือกที่ 1ด้วย • ผลเป็นบวกแสดงว่า ตรวจพบภาวะ Macroproteinuria WWW.CRCN.IN.TH

  45. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน กรณีที่ 2ใช้ Microalbuminuria Dipstick • ผลเป็นลบคือ ไม่มีโปรตีนในปัสสาวะเลย • ผลเป็นบวกแสดงว่า พบ Microalbuminuria ซึ่งต้องมีค่า ≥ 20 mg/L ขึ้นไป และกรณีผลเป็น Trace ถือว่าผลเป็นบวก ดังนั้นให้ตอบตัวเลือกที่ 2(ตรงจุดนี้จะแตกต่างกับกรณีที่ 1ที่ใช้ Urine Dipstick เพราะให้ dipstick คนละประเภท) • ทั้งนี้ให้ระบุวันเดือนปีที่ได้รับการตรวจด้วย WWW.CRCN.IN.TH

  46. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน • กรณีที่ 3Morning urine หา Albumin/Creatinine ratioรายงานผลการ • ตรวจเป็นช่วงค่าตั้งแต่ < 30 ถึง ≥ 300 mg/g ตามตัวเลือก (สังเกตหน่วยที่ • ใช้เป็น mg/g) • ถ้าตรวจพบ 30-299mg/gแปลว่า มีภาวะMicroalbuminuria • ถ้า ≥ 300mg/g แปลว่า มีภาวะ Macroproteinuria

  47. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน กรณีที่ 4รายงานผลการตรวจเป็นค่าตัวเลขอารบิคมี • จุดทศนิยม 2 ตำแหน่งเพียงค่าเดียว หรือ เป็นช่วงของผล • การตรวจ(สังเกตหน่วยที่ใช้) • กรอกตัวเลขตามแต่ละหน่วยของการวัดระดับ Albuminuria ตามฐานข้อมูลที่มีอยู่ WWW.CRCN.IN.TH

  48. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 22. DiabeticNephropathy; DN (โรคไตจากเบาหวาน) • เพิ่งเกิดในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา • มีอยู่แล้วแต่เดิม (นาน > 12 เดือน) • วินิจฉัยโดยแพทย์ระบุในเวชระเบียนหรือดูจากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเท่านั้น • กรณีที่แพทย์ไม่ได้ให้การวินิจฉัยใด แต่ผลตรวจปัสสาวะจะเข้าได้กับ DN ตามเกณฑ์การพิจารณา ให้ระบุว่าดูจากผลทางห้องปฎิบัติการเท่านั้น WWW.CRCN.IN.TH

  49. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 23. การได้รับยา ACEI หรือ ARB ในช่วง 12 เดือน • ACEI; Captopril,Enalapril,Fosinopril,Cilazepril,Perindopril,Quinapril,Ramipril,Lisinopril • ARB; Candesartan,Irbesartan,Losartan,Telmisartan,Valsartan • ให้พิจารณาในผู้ป่วยเบาหวานทุกราย • ระบุวันเดือนปีที่ได้รับยาครั้งล่าสุดด้วย • กรณีไม่ได้ใช้ยา ให้ระบุเหตุผลของการไม่ให้ยาด้วย WWW.CRCN.IN.TH

  50. ส่วนที่ 2 ตัวชี้วัดโรคเบาหวาน 24. ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผู้ป่วยได้รับการตรวจวัดสายตา(Visual Acuity, VA) หรือไม่ VA: การประเมินความสามารถในการมองเห็นของตาทั้งสองข้าง จากปกติไปจนมองไม่เห็น โดยใช้แผ่นป้าย SANLLEN Chartซึ่งประกอบไปด้วยตัวเลขขนาดต่างๆและแผ่น E chartดังนี้ โดยทั่วไปมักบันทึกเป็นสัดส่วน เช่น 6/6 (ระบบเมตริก) หรือ 20/20 (ระบบฟุต) WWW.CRCN.IN.TH

More Related