1 / 23

253452 ระบบสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

253452 ระบบสิ่งแวดล้อมและการจัดการ. ระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อม (5). เพชร เพ็งชัย. การประเมินความเสี่ยงต่อระบบนิเวศน์ ( Ecological risk assessment ). คือการประเมินค่าความเสี่ยงที่ ผู้สร้างความเสี่ยง จะก่อให้เกิด ผลในด้านลบ กับ ระบบนิเวศน์.

ervin
Télécharger la présentation

253452 ระบบสิ่งแวดล้อมและการจัดการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 253452 ระบบสิ่งแวดล้อมและการจัดการ • ระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อม (5) เพชร เพ็งชัย

  2. การประเมินความเสี่ยงต่อระบบนิเวศน์ (Ecological risk assessment) คือการประเมินค่าความเสี่ยงที่ผู้สร้างความเสี่ยงจะก่อให้เกิดผลในด้านลบกับระบบนิเวศน์ http://www.erg.com/portfolio/elearn/ecorisk/html/mod1/m1s02.html

  3. Stressors มีอยู่ในใจเกือบสมบูรณ์แล้ว แต่ต้องระบุผู้รับผลกระทบให้ดี มีผู้รับผลกระทบในใจเกือบสมบูรณ์แล้วแต่ต้องพิสูจน์หา Stressors http://oaspub.epa.gov/eims/eimscomm.getfile?p_download_id=36361 1.การระบุปัญหาและขอบเขต (Problem Formulation) 1.1 ระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressors identification) • ตัวอย่างเช่น • การประเมินความเสี่ยงของdioxins ต่อระบบนิเวศน์ • การประเมินความเสี่ยงของการตัดไม้ต่อระบบนิเวศน์ • การประเมินความเสี่ยงของจีเอ็มโอต่อระบบนิเวศน์ • การประเมินความเสี่ยงของโรงงานเคลือบชิ้นส่วนผิวโลหะต่อระบบนิเวศน์ • การประเมินความเสี่ยงของการเกิด eutrophicationในแหล่งน้ำ • การประเมินความเสี่ยงของการตายของปลาในแหล่งน้ำ

  4. มีการเพิ่มชนิด Stressors จากชื่อหัวข้อเนื่องจากความใกล้เคียงกันทางคุณสมบัติ ตัวอย่าง1 การระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressor)ในการประเมินความเสี่ยงของdioxins

  5. โรงบำบัดน้ำเสีย ตัวอย่าง2การระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressor)ในการประเมินความเสี่ยงของการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ...เริ่มด้วยปัญหา... ความหลากหลายของสปีชีส์ลดลงอย่างมากเมื่ออยู่ปลายน้ำโรงงานกระดาษ www.epa.gov/waterscience/biocriteria/stressors/stressorid.pdf

  6. 1. BODสูงมากทำให้ DO ต่ำเกินไป 2. ธาตุอาหารสูงมากทำให้เกิด eutrophication 4. มีสารเคมีที่เป็นพิษ เป็นผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressor) 5. TSS สูงมากรวมตัวกันเป็นflocทำให้ปลาหายใจไม่ออก ตัวอย่าง2 (ต่อ)การระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressor)ในการประเมินความเสี่ยงของการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ...ตามด้วย การยกสาเหตุที่เป็นไปได้และพิสูจน์... นศ. ลองยกสาเหตุขึ้นมาเองดูสิคะ 3. น้ำนิ่งเกินไปทำให้เกิดการตกตะกอนของอนุภาคในน้ำลงไปทับถมปลาทำให้หายใจไม่ออก

  7. www.epa.gov/waterscience/biocriteria/stressors/stressorid.pdf

  8. www.epa.gov/waterscience/biocriteria/stressors/stressorid.pdf

  9. www.epa.gov/waterscience/biocriteria/stressors/stressorid.pdf

  10. www.epa.gov/waterscience/biocriteria/stressors/stressorid.pdf

  11. 1.2 ระบุผู้ได้รับผลกระทบ (Ecosystem Potentially at Risk) คือการระบุผู้ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ (Ecosystem Potentially at Risk) ทั้งนี้ควรระบุเป็นสถานที่ระบบนิเวศน์และชนิดของสิ่งมีชีวิตลงไปให้ชัดเจนเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในขั้นตอนต่อไป 1.3 การระบุชนิดผลกระทบที่จะเกิด (Ecological Effects) ตาย (mortality) ลดการเจริญเติบโต (reduction in growth) ระบบสืบพันธุ์ถูกทำลาย (reproductive impairment) จำนวนสปีชีส์เปลี่ยนไป (changes in numbers of species) ตัวอย่าง เกิดการสะสมในสิ่งมีชีวิต (bioaccumulation) ทำลายคุณสมบัติต่างๆของระบบนิเวศน์ (disruption of community and ecosystem-level functions)

  12. http://oaspub.epa.gov/eims/eimscomm.getfile?p_download_id=36512 1.3 การระบุตัวชี้วัดสุดท้ายในการประเมินความเสี่ยง (Assessment Endpoints) ตัวชี้วัดสุดท้ายก็คือสิ่งที่ใช้แสดงว่าการประเมินความเสี่ยงนั้นๆบรรลุวัตถุประสงค์แล้วหรือไม่ การรอดชีวิต การแพร่พันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตในน้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลังและสาหร่าย การรอดชีวิต และการเติบโตของต้นไม้ • จำนวนและการกระจายของสิ่งมีชีวิตอาศัยใน ชะวากทะเล • ความหลากหลายทางสปีชีส์ของปลา • ความหลากหลายทางสปีชีส์ของลัตว์ไร้กระดูกสันหลังใต้น้ำลึก

  13. 2.1 กรณีที่ stressors คือสารก่อพิษต่อสุขภาพ หาได้จาก EEC: Estimated Environmental Concentration (บางทีเรียกว่า EPC : Environmental Point Concentration ) แล้วนำไปคำนวณต่อว่าผู้ได้รับผลกระทบจะสัมผัสหรือได้รับสิ่งที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงนี้ มาก-น้อยเท่าไร 2.การคำนวณปริมาณการสัมผัส (Exposure analysis) 2.1.1 กรณีผู้รับผลกระทบไม่ได้รับ stressors เข้าสู่ร่างกายเช่นการประเมินความเสี่ยงของยาฆ่าแมลงที่มีต่อปลาในน้ำค่า ปริมาณการสัมผัสคือEPC กล่าวคือเท่ากับค่าความเข้มข้นคาดคะเนของยาฆ่าแมลงชนิดนั้นๆที่สะสมในตัวปลาเลย 2.1.2กรณีผู้รับผลกระทบรับ stressors เข้าสู่ร่างกาย เช่นการประเมินความเสี่ยงของยาฆ่าแมลงที่มีต่อนกกินปลาบนบก ปริมาณการสัมผัสคือปริมาณยาฆ่าแมลงชนิดนั้นๆที่นกบริโภคและหายใจ ฯลฯเข้าไปในร่างกายหาได้จากการนำค่า EPCในน้ำมาหาปริมาณตกค้างในตัวปลาและ EPCในอากาศไปหาต่อว่านกจะได้รับปริมาณยาฆ่าแมลงชนิดนั้นๆเข้าสู่ร่างกายผ่านการกินปลาและการหายใจมากน้อยเท่าไร

  14. แบบฝึกหัด ใน 1 วัน นก (หนัก 100 กรัม) กินเมล็ดพืชเป็นจำนวน 10% ของน้ำหนักตัว หากมีสารพิษอยู่ในเมล็ดพืช 23 ppm โดยน้ำหนัก จงหา EPC (total amount of pesticide per kilogram of seeds consumed daily ) และปริมาณสัมผัสสารพิษ (exposure amount : mass pollutant/mass bird body/day) ของนกตัวนี้

  15. เฉลย ใน 1 วัน นก (หนัก 100 กรัม) กินเมล็ดพืชเป็นจำนวน 10% ของน้ำหนักตัว หากมีสารพิษอยู่ในเมล็ดพืช 23 ppm โดยน้ำหนัก จงหา EEC (total amount of pesticide per kilogram of seeds consumed daily ) และปริมาณสัมผัสสารพิษ (exposure amount : mass pollutant/mass bird body/day) ของนกตัวนี้ EEC = 23 *(1/1000000) = 23 µg / g-seeds ใน 1 วัน นก (หนัก 100 กรัม) กินเมล็ดพืช 10 กรัมได้รับสารพิษ 23× 10 = 230 µg/day ดังนั้นปริมาณสัมผัสสารพิษ =230/100 = 2.3 µg/g-body weight/day

  16. กรณีผู้รับผลกระทบรับ stressors เข้าสู่ร่างกายปริมาณการสัมผัส คือปริมาณเฉลี่ยของ stressors ที่รับเข้ามาในร่างกาย (ADD)ในหนึ่งหน่วยเวลา State of Ohio Environmental Protection Agency. 2003. Guidance for Conducting Ecological Risk Assessments. Division of Emergency and Remedial Response. Columbus, OH. DERR - 00 - RR - 031.(http://www.epa.state.oh.us/derr/rules/RR-031.pdf )

  17. State of Ohio Environmental Protection Agency. 2003. Guidance for Conducting Ecological Risk Assessments. Division of Emergency and Remedial Response. Columbus, OH. DERR - 00 - RR - 031.(http://www.epa.state.oh.us/derr/rules/RR-031.pdf )

  18. State of Ohio Environmental Protection Agency. 2003. Guidance for Conducting Ecological Risk Assessments. Division of Emergency and Remedial Response. Columbus, OH. DERR - 00 - RR - 031.(http://www.epa.state.oh.us/derr/rules/RR-031.pdf )

  19. State of Ohio Environmental Protection Agency. 2003. Guidance for Conducting Ecological Risk Assessments. Division of Emergency and Remedial Response. Columbus, OH. DERR - 00 - RR - 031.(http://www.epa.state.oh.us/derr/rules/RR-031.pdf )

  20. 2.2 กรณีที่ stressors ไม่ใช่สารก่อพิษต่อสุขภาพ หาได้จาก PEC: Predicted Environmental Concentration ตัวอย่างเช่น การประเมินความเสี่ยงของก๊าซมีเทนจากโรงบำบัดน้ำเสีย ก.ที่จะก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจกปริมาณการสัมผัสคือ PEC ซึ่งในที่นี้คือความเข้มข้นข้นของก๊าซมีเทนในอากาศ หลังจากปล่อยออกมาจากโรงบำบัดน้ำเสีย ก. (หาได้จากการวัดจริงหรือจะคำนวณค่าที่สนใจในอนาคตก็ได้) การประเมินความเสี่ยงของการเกิด eutrophication ในแหล่งน้ำปริมาณการสัมผัสคือ PEC ซึ่งในที่นี้คือความเข้มข้นข้นของ N และ P รูปแบบต่างๆในน้ำ (หาได้จากการวัดจริงหรือจะคำนวณค่าที่สนใจในอนาคตก็ได้)

  21. ตัวอย่าง การหา PEC

  22. 1. การระบุปัญหาและขอบเขต (Problem Formulation) 1.1 ระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressors identification) 1.2 ระบุผู้ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ (Ecosystem Potentially at Risk) 1.3 ระบุชนิดผลกระทบที่จะเกิด (Ecological Effects) 1.4 ระบุตัวชี้วัดสุดท้ายในการประเมินความเสี่ยง (Assessment Endpoints) 2.การคำนวณปริมาณการสัมผัส (Exposure analysis) 2.1 กรณีที่ stressors เป็นสารก่อพิษต่อสุขภาพ..... EEC, EPC, ADD ครั้งต่อไป 2.2 กรณีที่ stressors ไม่ใช่สารก่อพิษต่อสุขภาพ…PEC 3.การคำนวณผลกระทบที่จะเกิด (Ecological effectsanalysis) 4.การประเมินความเสี่ยงต่อระบบนิเวศน์ สรุปเนื้อหาในครั้งนี้ การประเมินความเสี่ยงต่อระบบนิเวศน์ (Ecological risk assessment)

  23. การบ้าน • สมมุติให้นศ.วางแผนวิเคราะห์ความเสี่ยงในการทิ้งสารเคมีที่ใช้ในห้องแล็บลงรางระบายน้ำของภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมมช.จง • ระบุผู้ก่อให้เกิดความเสี่ยง (stressors identification) • ระบุผู้ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ (Ecosystem Potentially at Risk) • ระบุชนิดผลกระทบที่จะเกิด (Ecological Effects) • ระบุตัวชี้วัดสุดท้ายในการประเมินความเสี่ยง (Assessment Endpoints) • ระบุวิธีหาปริมาณสัมผัส

More Related