1 / 104

การบริหารงบประมาณ

การบริหารงบประมาณ. แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์. ลัดดา แกล้วกล้า วปค. ความสุขที่จะได้รับจากผู้บริหารประเทศ. รับบริการของภาครัฐที่มีคุณภาพ. รับการดูแล คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ. มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และความคิดเห็น. รับการช่วยเหลือในการประกอบกิจการ.

ezhno
Télécharger la présentation

การบริหารงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ลัดดา แกล้วกล้า วปค.

  2. ความสุขที่จะได้รับจากผู้บริหารประเทศความสุขที่จะได้รับจากผู้บริหารประเทศ รับบริการของภาครัฐที่มีคุณภาพ รับการดูแล คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และความคิดเห็น รับการช่วยเหลือในการประกอบกิจการ รับสิทธิในการตรวจสอบ และชี้แจงการทำงานของภาครัฐ

  3. NEEDS บำบัดทุกข์ บำรุงสุข WANTS

  4. GOAL 2 Strategic Execution 3 3 Strategic Formulation Strategic Formulation Strategic Execution Strategic Execution 1 1 Strategic Analysis Strategic Analysis

  5. การวิเคราะห์ ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Analysis) การนำยุทธศาสตร์ การกำหนด ยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ (Strategic Formulation) (Strategic Execution)

  6. SWOT Analysis การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์ การกำหนดทิศทางที่ต้องการจะไป Vision/Mission/Objectives การกำหนดสิ่งที่จะทำเพื่อไปสู่เป้าหมาย Strategics การเชื่อมโยงสู่แผนปฏิบัติ และ งบประมาณ Project and Budget การดำเนินงาน + ติดตามประเมินผล Performance Measurement

  7. การนำ การควบคุม การวางแผนกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ จุดมุ่งหมายและ กำหนดกลยุทธ์ จัดทำแผน ดำเนินการ ประเมินผล กำหนดวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เพื่อการบรรลุ และพันธกิจ ระยะสั้นและ ปฏิบัติการ ตามแผน การปฏิบัติงาน วิสัยทัศน์ ขององค์กร ระยะยาว การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระบบงบประมาณ ต้องมีข้อตกลงผลงานล่วงหน้า / ตัวชี้วัด / เกณฑ์ / วิธีการวัด กำหนด CSFS พัฒนากรอบ ทดลองปฏิบัติ ทบทวน แผนกลยุทธ์ ติดตาม แบบ และ และ & KPIs ด้วย และ มุ่งเน้นผลงาน BSC กระบวนการ ขยายผล ปรับปรุง ความสัมพันธ์

  8. SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6

  9. Competency : สมรรถนะด้านการบริหารงาน ความรู้เกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณ ถือได้ว่า เป็นสมรรถนะที่มีความสำคัญสำหรับการบริหารงาน ภาครัฐยุคใหม่ เนื่องจากครอบคลุม ทั้งความสามารถ ในการจัดทำ การบริหาร และควบคุมงบประมาณ ตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ในการนำส่ง ผลผลิต / บริการ ตามเป้าหมายของหน่วยงาน

  10. Competency:สมรรถนะด้านการบริหารงาน(ต่อ)Competency:สมรรถนะด้านการบริหารงาน(ต่อ) องค์ประกอบของความสามารถข้างต้น จะช่วยสนับสนุนในการจัดการงบประมาณ ของส่วนราชการต่าง ๆ สามารถสนองตอบต่อยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ตามนโยบายของรัฐบาล แทนที่จะผูกติดอยู่กับงานประจำแต่เพียงอย่างเดียว

  11. SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6

  12. การบริหารงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

  13. หัวข้อการบรรยาย • งบประมาณคืออะไร • งบประมาณมีความจำเป็นและความสำคัญต่อการบริหารภาครัฐอย่างไร • รูปแบบของงบประมาณ • รูปแบบงบประมาณที่รัฐใช้ในการบริหารประเทศ • กระบวนการของงบประมาณ • งบประมาณของภาครัฐในพื้นที่

  14. บทบาทของรัฐในทางเศรษฐกิจ 3 ประการ การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของสังคม โดยใช้นโยบายงบประมาณเป็นเครื่องมือ การกระจายรายได้ของสังคม โดยใช้นโยบายการคลังด้านมาตรการภาษีเป็นเครื่องมือ การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม โดยใช้นโยบายการคลังเป็นเครื่องมือ

  15. การคลัง การคลังในส่วนของรัฐบาล การคลังในกิจกรรมที่รัฐเป็นเจ้าของ หรือ เรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมทางการคลังการเงินต่าง ๆ ของรัฐ อันมีผล ผูกพัน กระทบชีวิตความเป็นอยู่ของคน ทั้งในปัจจุบัน และ อนาคต

  16. การคลังภาครัฐ การกำหนดนโยบาย และ การดำเนินงานด้านการเงินของรัฐ เกี่ยวข้องกับ รายได้ รายจ่าย หนี้สาธารณะ นโยบายการคลัง

  17. งบประมาณแผ่นดิน แผนเกี่ยวกับการใช้จ่าย + การจัดหารายได้ของรัฐบาล ในรอบระยะเวลาหนึ่ง เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ และเอื้อต่อการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ

  18. นโยบายงบประมาณ 3 แนวทาง แบบเกินดุล รายจ่ายต่ำกว่ารายรับ ช่วงเงินเฟ้อ แบบขาดดุล รายจ่ายสูงกว่ารายรับ ช่วงเงินฝืด แบบสมดุล รายจ่ายเท่ากับรายรับ

  19. หลักการของงบประมาณ • หลักประหยัด • หลักประสิทธิภาพ • หลักความเสมอภาค • หลักดุลยภาพ • หลักคาดการณ์ไกล • หลักประชาธิปไตย

  20. ลักษณะที่ดีของงบประมาณลักษณะที่ดีของงบประมาณ 1. ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะ สภาพ เป้าหมายของรัฐ 2. การระบุเหตุผล 3. การระบุความต้องการ และลำดับความสำคัญของรัฐ 4. ต้องเป็นศูนย์รวมเงินของแผ่นดิน 5.ลักษณะพัฒนา 6. มีระยะเวลาที่เหมาะสม

  21. รูปแบบงบประมาณ งบประมาณแบบเน้นการควบคุม งบประมาณแบบเน้นการจัดการ งบประมาณแบบเน้นการวางแผน งบประมาณแบบเน้นการแก้ปัญหา / ข้อจำกัดทางทรัพยากร

  22. งบประมาณแบบแผนงาน PROGRAM BUDGET ING PERFORMANCED BASED BUDGETING งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PBB) งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ STRATEGIC PERFORMANCED BASED BUDGETING (SPBB)

  23. SPBB ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

  24. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Concept • ใช้งบประมาณเป็นตัวเชื่อมโยงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Top-down Budgeting) • มุ่งเน้นผลงาน (output / outcome-oriented) 24

  25. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาท/ อำนาจตัดสินใจ ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น เป็นระบบควบคุม ตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส 25

  26. ใช้นโยบายเป็นตัวนำ (Policy Driven) มีการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ การรักษาวินัยทางการคลัง เน้นการบริการประชาชน มีการคาดการณ์ล่วงหน้า คำนึงถึงการวัดผลสำเร็จในการดำเนินงาน หลักการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ หลักการเชิงนโยบาย หลักการเชิงบริหาร • การมอบอำนาจการตัดสินใจ • ใช้หลักการธรรมาภิบาล (ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ) • ให้มีความคล่องตัวในการบริหาร • ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการติดตามประเมินผลและมีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ 26

  27. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (เน้น 3 ประการหลัก) 1. มุ่งเน้นยุทธศาสตร์เป้าหมายการให้บริการ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) 2. มอบอำนาจการบริหารจัดการ และบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาล 3. เน้นความรับผิดชอบ ในการใช้งบประมาณ 3 ระดับ - รัฐบาล รับผิดชอบในระดับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ - กระทรวง รับผิดชอบต่อ เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ - กรม รับผิดชอบต่อ ผลผลิต

  28. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประโยชน์ตามกลุ่มเป้าหมาย รัฐสภา รัฐบาล ส่วนราชการ ประชาชน • บริหารนโยบายได้ตามเป้าหมายที่สัญญากับประชาชนและที่แถลงต่อรัฐสภา • มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ • ใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด • สามารถอนุมัติงบประมาณตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น • สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • สามารถตรวจสอบหน่วยปฏิบัติได้ตามเป้าหมายการให้บริการ • สามารถบริหารงานได้อย่างคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนบรรลุ ผลสำเร็จตาม เป้าหมาย • ได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาที่ดีขึ้น • มีคุณภาพชีวิตที่ดี • ได้รับข้อมูลข่าวสาร ครบถ้วน รวดเร็ว 28

  29. โครงสร้างชั้นข้อมูล SPBB ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/รัฐบาล National/GovernmentStrategy Major Key Success Factors Key Success Factors แผนบริหารราชการ 4ปี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Target) GFMIS Government Strategic Direction r แผนปฏิบัติราชการ 4ปี เป้าหมาย การให้บริการ (PSA/SDA) Key Performance Indicators แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนปฏิบัติราชการ 4ปี Output Performance (QQTC) BIS ผลผลิต (Output) การกำหนดทางเลือก ในการผลิตและการใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ Ev MIS กระบวนการ จัดทำผลผลิต (Delivery Process) PART AMIS ทรัพยากร (Resources) Evaluation 29

  30. ลักษณะของงบประมาณ SPBB 1. มีแผนกลยุทธ์ที่สมบูรณ์ และทันสมัย ครอบคลุมหลายมิติ 2. เน้นผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดที่แสดงความสำเร็จ 3. กำหนดทิศทางและจัดทำแผนงบประมาณรายจ่าย ล่วงหน้าระยะปานกลาง 3 ปี 4. มีการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลัก 5. จัดสรรเงินให้แบบวงเงินรวม (Block Grant) 6. แบ่งกลุ่มวัตถุประสงค์ของรายจ่ายเป็น 4 งบรายจ่าย 7. ให้ความสำคัญกับแผนปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายเงิน 8. มีการรายงานผลการดำเนินงาน รวมทั้งการติดตามประเมิน 9. มีเครื่องมือในการจัดทำและบริหารงบประมาณ

  31. การบริหารงบประมาณ ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน “หน่วยงานต้องมีมาตรฐานการจัดการ ทางการเงิน 7 ประการ(7 Hurdles) ” 2

  32. งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน - 7 Hurdles * Performance Based Budgeting : PBB 1 การวางแผนงบประมาณ 2 การคำนวณต้นทุนของกิจกรรม 3 การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4 การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ 5 การรายงานการเงินและผลการดำเนินงาน 6 การบริหารสินทรัพย์ การตรวจสอบภายใน 7 3

  33. ประการที่ 1 การวางแผนงบประมาณ แผนกลยุทธ์ + แผนงานประจำ ( STRATEGIC & ROUTINEPLAN) กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK: MTEF) 4

  34. ประการที่ 2 การคำนวณต้นทุนผลผลิต ( Activity - Based Costing ) เป็นการคิดต้นทุนการดำเนินการต่อหน่วยผลผลิตของกิจกรรมภายใต้โครงการตามแผนกลยุทธ์หน่วยงาน 5

  35. ระบบการจัดซื้อจัดจ้างระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) ประการที่ 3 ที่แสดงถึง :- • ความโปร่งใส • ความยุติธรรม • ตรวจสอบได้ 6

  36. จัดระบบการบริหารการเงินและจัดระบบการบริหารการเงินและ ควบคุมงบประมาณ ( Financial managment & Budget control ) ประการที่ 4 • กำหนดระดับมาตรฐาน • กำหนดความรับผิดชอบในเรื่องบัญชีและการเงิน • ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้าง

  37. จัดระบบการวางแผนการเงินและจัดระบบการวางแผนการเงินและ การรายงานผลการดำเนินการ (Financial & Performance Reporting) ประการที่ 5 • การแสดงความโปร่งใส • การตรวจสอบ • การประเมินผลโครงการ • การรายงานผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์

  38. จัดระบบการบริหารสินทรัพย์จัดระบบการบริหารสินทรัพย์ (Asset management) ประการที่ 6 • การเพิ่มประสิทธิภาพและ • ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร • ความคุ้มค่าและคุ้มทุน 9

  39. จัดระบบตรวจสอบภายใน ( Internal Audit ) ประการที่ 7 • ตรวจสอบผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ - ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity ) - ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program ) - ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project ) • ตรวจสอบรายงานทางการเงิน - เทียบเคียงผลการดำเนินการกับงบประมาณที่ใช้

  40. ผลงาน*คุ้มค่า การตรวจสอบการทำงาน PBB ร่องรอย*ทำจริง ถูกต้อง โปร่งใส คุณภาพการบริการ แผนงาน/โครงการ *สอดคล้อง หน่วยงาน

  41. ประมาณการรายได้ • กำหนดวงเงินโครงสร้าง งปม. • กำหนดยุทธศาสตร์จัดสรร • ทบทวนผลผลิต • ปรับปรุงฐานข้อมูล MTEF การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ กระบวนการงบประมาณ • จัดทำแผน งปม. เชิงยุทธศาสตร์ • จัดทำ คำขอ งปม. • พิจารณาคำขอ งปม. • จัดทำร่าง พรบ. งบประมาณ • เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ การประเมินผล • ก่อนการดำเนินงาน • ระหว่างการดำเนินงาน • หลังการดำเนินงาน การอนุมัติงบประมาณ การบริหารงบประมาณ • พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดยฝ่ายนิติบัญญัติ • การตราพระราชบัญญัติ • จัดทำแผนปฏิบัติงาน • จัดทำแผนใช้จ่ายงบประมาณ • จัดสรรงบประมาณ กระบวนการงบประมาณภายใต้ระบบงบประมาณฯ 1 5 2 4 3 41

  42. กระบวนการงบประมาณ การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ การคำนวณต้นทุนผลผลิต การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารทางการเงิน 7HURDLES การบริหารงบประมาณ และควบคุมงบประมาณ การบริหารสินทรัพย์ การรายงานทางการเงิน การติดตามประเมินผล และผลการดำเนินงาน การตรวจสอบภายใน

  43. ปฏิทินการจัดทำงบประมาณปฏิทินการจัดทำงบประมาณ ตุลาคม - มกราคม ขั้นทบทวนงบประมาณ กุมภาพันธ์ - มีนาคม ขั้นการวางแผน เมษายน - พฤษภาคม ขั้นจัดทำคำของบประมาณ มิถุนายน - กันยายน ขั้นการอนุมัติงบประมาณ

  44. ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ 1.ครม.กำหนดแนวนโยบายและประมาณการด้านงบประมาณ 2.สงป. พิจารณาวงเงินรายกระทรวง ต่อ ครม. 3.ครม.อนุมัติวงเงินรายกระทรวง 4.สงป.แจ้งนโยบาย + วงเงิน รายกระทรวง 5. กระทรวงพิจารณาจัดสรรวงเงินงปม. ให้ส่วนราชการในสังกัด 6. ส่วนราชการจัดทำคำขอตามแบบและหลักเกณฑ์ที่ สงป.กำหนด 7. กระทรวงรวบรวมคำขอ เสนอต่อ สงป. 8. สงป. พิจารณาคำขอตามแนวนโยบายและวงเงินที่ ครม.อนุมัติ 9. สงป. จัดทำร่าง พ.ร.บ.งปม. เสนอ ครม. 10. ครม. พิจารณาร่าง พ.ร.บ.งปม. + นำเสนอต่อรัฐสภา

  45. ขั้นตอนการอนุมัติงบประมาณขั้นตอนการอนุมัติงบประมาณ (โดยรัฐสภา) สภาผู้แทนราษฎร • ต้องประชุมวิเคราะห์และพิจารณาร่าง ก่อนวันเริ่มต้น ปีงบประมาณใหม่ไม่น้อยกว่า 2 เดือน • ต้องประชุมวิเคราะห์และพิจารณาร่างด้วยกัน 3 วาระ ภายในระยะเวลา 105 วัน วุฒิสภา • ต้องประชุมให้ความเห็นชอบร่าง ภายใน 20 วัน

  46. ขั้นตอนการบริหารงบประมาณขั้นตอนการบริหารงบประมาณ (รัฐบาล + ราชการ + สภา) 1. การจัดสรรเงินงบประมาณ 2. การก่อหนี้ 3. การใช้รายจ่าย 4. การโอนเปลี่ยนแปลงเงินงบประมาณ 5. การรายงานผลการปฏิบัติงาน

  47. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และฉบับที่แก้ไข • พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 • พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550

  48. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 6 รัฐสภา มาตรา 143 ร่าง พ.ร.บ. เกี่ยวกับการเงิน ต้องผ่านรัฐสภาโดยมีคำรับรองของ นายกรัฐมนตรี

  49. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ มาตรา 168 สภาผู้แทนราษฎรต้องประชุมวิเคราะห์และพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งปม. ภายใน 105 วันวุฒิสภาต้องให้ความเห็นชอบภายใน 20 วัน

  50. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ มาตรา 169 • การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะที่มีกฎหมายกำหนด • กรณีมีการโอน / นำรายจ่ายที่กำหนดไว้ไปใช้ในรายการอื่น ให้ รัฐบาล รายงาน รัฐสภา เพื่อทราบทุกเดือน • กรณีจำเป็นเร่งด่วน รัฐบาล จะจ่ายเงินคงคลังไปก่อนก็ได้แต่ต้องตั้งงบประมาณชดใช้ โดยต้องกำหนดแหล่งที่มาของรายได้ที่จะมาชดใช้ไว้ด้วย • ภาวะสงคราม ค.ร.ม. มีอำนาจโอน / นำรายจ่ายที่กำหนดไว้ไปใช้ในรายการที่แตกต่างจากที่กำหนดไว้ได้ทันที + รายงาน รัฐสภา

More Related