1 / 51

การใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ รพ.สต. ปีงบประมาณ ๒๕๕๕

การใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ รพ.สต. ปีงบประมาณ ๒๕๕๕. งานข้อมูลสารสนเทศ. การพัฒนาฐานข้อมูล JHCIS. - การจัดเก็บข้อมูลจากสถานบริการสุขภาพ - มีข้อมูลสุขภาพรายบุคคลในการวิเคราะห์ - มีข้อมูลในการสนับสนุนการวางยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมป้องกัน - ลดภาระของพื้นที่ในการออกรายงาน

fairly
Télécharger la présentation

การใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ รพ.สต. ปีงบประมาณ ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ รพ.สต. ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ งานข้อมูลสารสนเทศ

  2. การพัฒนาฐานข้อมูล JHCIS - การจัดเก็บข้อมูลจากสถานบริการสุขภาพ - มีข้อมูลสุขภาพรายบุคคลในการวิเคราะห์ - มีข้อมูลในการสนับสนุนการวางยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมป้องกัน - ลดภาระของพื้นที่ในการออกรายงาน - การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทุกภาคส่วน

  3. การวิเคราะห์ข้อมูล แสดงผลรายงาน • ข้อมูลด้านประชากร(PERSON ) • ข้อมูลด้านการตาย (DEATH , PERSON ) • ข้อมูลด้านการเจ็บป่วย ( DIAG , SERVICE ) • ข้อมูลโรคเรื้อรัง ( CHRONIC , PERSON ) • ข้อมูลโภชนาการและอนามัยแม่ละเด็ก ( NUTRI ) • ข้อมูลการใช้และการให้บริการ ( SERVICE , PERSON ) • ข้อมูลการใช้และความครอบคลุมบริการป้องกันโรค ( EPI , ANC , MCH , PP , FP )

  4. สถานการณ์การใช้งานฐานข้อมูล JHCISระดับตำบล ข้อเท็จจริง ทุกรพ.สต.ใช้ JHCIS บันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม • สถานการณ์ปัจจุบัน การบันทึก 21แฟ้มไม่ครอบคลุม ครบถ้วน สมบูรณ์ ปัจจัย 1.จนท.ขาดทักษะการใช้โปรแกรม /ความเข้าใจการลงบันทึกแฟ้มต่างๆ2.ผู้บันทึก มีหลายคน หลากหลาย หรือบางแห่ง หลายคน แต่คนใช้งานมีน้อย3.การให้บริการ/การบันทึกข้อมูลต่างเวลาต่างวาระ4.การติดตาม/การรับรู้ข่าวสาร การปรับปรุงโปรแกรมไม่ต่อเนื่อง • 5.ขาดการติดตามชี้แนะ /ตรวจสอบ ที่เป็นระบบ ผลกระทบ การใช้ประโยชน์ข้อมูลไม่คุ้มค่ากับการทำโปรแกรม / การบันทึกข้อมูล

  5. บทบาทหน้าที่ระดับอำเภอกับการใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ อำเภอ บทบาทหน้าที่ 1.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ/มีทีมงานหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจนทั้งด้าน โปรแกรม /ตรวจสอบคุณภาพและการใช้ประโยชน์ข้อมูล2.เรียนรู้/ใช้โปรแกรม/ประมวลผลข้อมูลได้ 3.เป็นที่ปรึกษา/สื่อสารความก้าวหน้าแก่รพ.สต. 4.ตรวจสอบข้อมูล/ใช้และประมวลผลข้อมูล เพื่อตั้งเป้าหมายและออกรายงานระดับอำเภอ 5.ประสานระดับจังหวัดในการช่วยเหลือ /สนับสนุน รพ.สต.

  6. บทบาทหน้าที่ระดับจังหวัด กับการใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ จังหวัด บทบาทหน้าที่ 1.ทีมงาน IT ระดับจังหวัดมีความรู้ความสามารถ/เป็นที่ปรึกษา /แก้ไขปัญหาจากโปรแกรม 2.ประสาน/จัดอบรม ระดับอำเภอและตำบลในการใช้งาน โปรแกรม /การบันทึกข้อมูล 3.กลุ่มงานต่างๆ ในสสจ. ที่เกี่ยวข้องกับแฟ้มต่างๆทั้ง21 แฟ้ม เข้าใจ /ติดตาม /ตรวจสอบข้อมูล/ใช้และประมวลผลข้อมูล เพื่อตั้งเป้าหมายและออกรายงานระดับจังหวัด

  7. ผลสำรวจการใช้งานฐานข้อมูล JHCIS ระดับ รพ.สต. ปีงบประมาณ ๒๕๕๕

  8. วัตถุประสงค์1.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการใช้งาน JHCIS 2.เพื่อปรับปรุง/แก้ไขปัญหาจากตัวโปรแกรม 3.เพื่อการใช้ประโยชน์รายงานที่ออกจากฐานโปรแกรม

  9. กลุ่มเป้าหมาย/ขั้นตอนการดำเนินการกลุ่มเป้าหมาย/ขั้นตอนการดำเนินการ 1.สำรวจ ใน รพ.สต.ทุกแห่งโดยให้ ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอสำรวจ /รวบรวม /ประมวลผล พร้อมจัดทำแผนแผนพัฒนา/ปรับปรุง/ แก้ไขปัญหา 2. ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอส่งผลสำรวจพร้อมแผนพัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไขปัญหาให้จังหวัดภายในไตรมาสที่2 3.ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอติดตามตามแผนที่จัดทำ โดยรพ.สต ต้องมีบันทึกเยี่ยมทุกครั้ง ทีรับการพัฒนาและแก้ไข ทั้งนี้ให้ นำผลวิเคระห์การจัดทำและพัฒนาฐานข้อมูล JHCISของทุก รพ.สต เข้าที่ประชุม CUPรับทราบ และพัฒนาพร้อม เตรียมจัดทำแผนปีงบประมาณ 2556 (โดยส่งผลการติดตาม รายงานประชุม ให้จังหวัดภายในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนสิงหาคม )

  10. องค์ประกอบ แบบสำรวจ • ส่วนที่1ข้อมูลพื้นฐานด้าน Hardware และ • Software ที่ใช้งานโปรแกรมJHCISส่วนที่2ข้อมูลบุคลากรที่ใช้ JHCIS ของหน่วยงาน • ส่วนที่3ด้านประสิทธิภาพที่สอดคล้องการทำงาน • ส่วนที่4ด้านคุณภาพการบันทึกข้อมูล • ส่วนที่5 การประมวลผลความถูกต้องรายงาน • ที่ออกจาก JHCIS • ส่วนที่6การประเมินความคุ้มค่าการใช้งานJHCIS

  11. 21 แฟ้มมาตรฐาน

  12. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอหัวหิน (รพ.สต.9 แห่ง) 1.จำนวนคอมฯที่ใช้งาน JHCIS 1.1 จำนวน 1 เครื่อง(รพ.สต. ห้วยไทรงาม/รพ.สต. บ้านแพรกตะคร้อ)1.2 จำนวน 3 เครื่องรพ.สต. เขาเต่า/รพ.สต.ทับใต้/รพ.สต.หนองพลับ/ รพ.สต.ห้วยผึ้ง/รพ.สต.ห้วยสัตว์ใหญ่/รพ.สต.บึงนคร 1.3 จำนวน 4 เครื่อง (รพ.สต. หินเหล็กไฟ) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย ได้แก่รพ.สต. หินเหล็กไฟ/หนองพลับ/ห้วยสัตว์ใหญ่2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล - ส่วนใหญ่รพ.สต.มีการback up ข้อมูลทุกวันแต่รพ.สต.หินเหล็กไฟ back up ไม่แน่นอน ซึ่งส่วนใหญ่ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ เป็นบางครั้ง แต่สำหรับ รพ.สต.หินเหล็กไฟ และรพ.สต.ห้วยสัตว์ใหญ่ไม่มีการทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้

  13. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอหัวหิน (รพ.สต.9 แห่ง) การบันทึกข้อมูล • - บุคลากรขาดความเข้าใจในการบันทึกข้อมูล อาทิด้านอนามัยแม่และเด็กเช่นแฟ้มANC / PP /MCH • -แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย/ บันทึกไม่ครบถ้วน อาทิ CHRONIC /Death / Card / NCD SCREEN / CHRONIC FU/LABFUยังใช้สมุดบันทึกกับการบริการ • - มี รพ.สต. 2 แห่งได้แก่ รพ.สต. ห้วยไทรงาม และรพ.สต.ห้วยผึ้ง ที่ให้ข้อมูลว่า มีการบันทึกข้อมูลและประมวลผลรายงานได้ แต่รายงานอาจมีปัญหาจากโปรแกรม

  14. ปัญหาอุปสรรค 1.บุคลากรไม่มีพื้นฐานความรู้คอมพิวเตอร์ มีผลต่อการใช้งานโปรแกรม JHCIS 2.การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน 3.บุคลากรยังคงใช้ สมุดบันทึกร่วมกับ การบันทึกใน 21 แฟ้ม 4.การบันทึกข้อมูล บางแฟ้ม มีปัญหาจาก ระบบบริการ เช่น แฟ้ม CHRONIC ผู้ป่วยไปรับบริการที่ รพ. /EPI/ANC/MCH /PP ผู้ป่วยไปรับบริการที่อื่น /แฟ้ม Drug ยัง Error 5.ระบบรายงานยังมีปัญหามาจากโปรแกรม 6. บางแห่งไม่มี Internet ใช้งาน ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอหัวหิน (ต่อ) ข้อเสนอแนะ • 1. ระดับอำเภอ มีผู้ดูแล โปรแกรมและระบบข้อมูล 2.ควรอบรมใช้งาน โปรแกรม JHCIS อย่างต่อเนื่อง • 3.ลดระบบรายงานและให้ใช้ข้อมูล ใน 21 แฟ้ม/ เพิ่มรายงานเพียงพอการใช้งาน 4.ควรทำ Data Center ในทุกระดับ

  15. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอปราณบุรี (รพ.สต.7 แห่ง) 1.จำนวนคอมฯที่ใช้งาน JHCIS 1.1จำนวน 3 เครื่อง (รพ.สต. วังก์พง /รพ.สต. ปราณบุรี/รพ.สต.หนองตาแต้ม/ รพ.สต.หนองตาเมือง/รพ.สต.เขาจ้าว )1.2 คอมฯมีจำนวน 4 เครื่อง (รพ.สต. โรงสูบ)1.3 คอมฯมีจำนวน 5 เครื่อง(รพ.สต. ปากน้ำปราณ) - รพ.สต. ที่ใช้งาน คอมฯที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วยได้แก่รพ.สต. ปากน้ำปราณ/รพ.สต.หนองตาแต้ม/รพ.สต.เขาจ้าว2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล การback up ข้อมูล - back up ทุกวัน(รพ.สต. วังก์พง/รพ.สต.หนองตาแต้ม/ รพ.สต.หนองตาเมือง/รพ.สต.เขาจ้าว ) - back up ทุกอาทิตย์(รพ.สต.โรงสูบ/รพ.สต. ปราณบุรี - back up ไม่แน่นอน (รพ.สต. ปากน้ำปราณ)ส่วนใหญ่ ไม่ได้ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ หรือ ทดสอบป็นบางครั้ง

  16. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอปราณบุรี (รพ.สต.7 แห่ง) การบันทึกข้อมูล - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย และไม่ครบถ้วน - ANC/MCH/WOMEN/PP/Nutrition/NCD SCREEN / CHRONIC FU /LABFU/DEATH/ Card ปัญหาอุปสรรค 1.ให้บริการผู้ป่วย และผู้ป่วยกลับบ้านไปแล้ว แต่บันทึกข้อมูลตอนเย็น ขาดข้อมูลที่ครบถ้วนบันทึกไม่ได้ 2.บุคลากรขาดทักษะการใช้โปรแกรม 3.การบันทึกข้อมูลแฟ้มต่างๆไม่ครบถ้วน 4.รายงาน 400 แยกผู้รับบริการออกจากผู้ป่วยไม่ได้ 5.รหัสยาสมุนไพรบางตัวไม่ตรงกับ สนย. 6.ออกรายงานไม่ตรงความต้องการ

  17. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอปราณบุรี (ต่อ) ข้อเสนอแนะ 1.ระดับอำเภอ ควรมีผู้รับผิดชอบหลัก ให้คำแนะนำได้ และกำหนดติดตามทั้ง โปรแกรมและระบบข้อมูลเป็นระยะที่ต่อเนื่อง 2.เปิด Web Board สื่อสาร 3.รวมโปรแกรมที่หลากหลายไว้ที่ JHCIS /ปรับปรุงรายงานให้สอดคล้องกับรายงาน 21 แฟ้ม 4.มีการสื่อสารทุกครั้งที่ Upข้อมูล 5.ระบบบันทึกข้อมูลควรง่าย สะดวก เพื่อลดขั้นตอน /การออกรายงาน สะดวก 6.ควรอบรมด้านการใช้งาน โปรแกรม JHCISเพื่อเจ้าหน้าที่มีทักษะการใช้งานโปรแกรมJHCISต่อเนื่อง 7.ควรจัดอบรม ICD 10

  18. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอสามร้อยยอด(รพ.สต.7แห่ง)ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอสามร้อยยอด(รพ.สต.7แห่ง) 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS 1.1 มีจำนวน 2 เครื่อง (รพ.สต. ไร่เก่า) 1.2 มีจำนวน 3 เครื่อง (รพ.สต. สามร้อยยอด /รพ.สต. ศิลาลอย/ รพ.สต.หนองหญ้าปล้อง/ รพ.สต.หนองจิก) 1.3 มีจำนวน 4 เครื่อง (รพ.สต. หนองแก)1.4 มีจำนวน 6 เครื่อง (รพ.สต.บ้านทุ่งเคล็ด) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วยได้แก่ รพ.สต. ศิลาลอย/รพ.สต.หนองหญ้าปล้อง

  19. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอสามร้อยยอด(ต่อ)ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอสามร้อยยอด(ต่อ) 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล ด้านการback up ข้อมูล - back up ข้อมูลทุกวัน รพ.สต.หนองจิก - back up ข้อมูลทุกอาทิตย์ รพ.สต.สามร้อยยอด /รพ.สต.ศิลาลอย/รพ.สต.หนองหญ้าปล้อง/รพ.สต.ไร่เก่า - back up ข้อมูลไม่แน่นอน รพ.สต.บ้านทุ่งเคล็ด/รพ.สต. หนองแก และส่วนใหญ่ ไม่ได้ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ มีรพ.สต.ไร่เก่าที่ทดสอบบ้างแต่ไม่แน่นอน 3.การบันทึกข้อมูล - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย MCH/NCD/ ANC / PP/WOMEN/Nutrition/Surveil

  20. ปัญหาอุปสรรค 1.แฟ้ม NCD ข้อมูลส่งออกไม่ตรงกับคัดกรอง 2.EPI นอกเขต บันทึกข้อมูลไม่ครบ ข้อเสนอแนะ 1.มีผู้ดูแลระบบโปรแกรมและระบบข้อมูลระดับอำเภอ และควรมีการติดตามและให้คำแนะนำแก่ รพ.สต. 2.ระดับอำเภอควรตรวจสอบข้อมูลทั้งในส่วน ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และงานบริการ พร้อมติดตามปัญหา 3.ระดับจังหวัดจัดอบรม Administrator การใช้ SQL ออกรายงาน 4.การบันทึกแฟ้ม MCH มีรายละเอียดมาก ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอสามร้อยยอด(ต่อ)

  21. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอกุยบุรี (รพ.สต.11แห่ง) 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS 1.1 มีจำนวน 1 เครื่อง (รพ.สต. หนองเตาปูน/รพ.สต.ดอนกลาง/รพ.สต.ไร่บน/รพ.สต.หนองมะซาง ) 1.2 มีจำนวน 2 เครื่อง (รพ.สต. กุยบุรี/รพ.สต. รวมไทย/รพ.สต.เขาแดง/รพ.สต.โป่งกะสัง/ รพ.สต.บ้านป่าถล่ม/รพ.สต.พระครูนิยุตธรรมสุนทร) 1.3 มีจำนวน 3 เครื่อง (รพ.สต. ดอนยายหนู ) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCISร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย มีเพียง 1 รพ.สต. ได้แก่ รพ.สต. ดอนยายหนู 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูลการback up ข้อมูล - back up ทุกวัน (รพ.สต. กุยบุรี/รพ.สต.ดอนกลาง/ รพ.สต.โป่งกะสัง/รพ.สต.บ้านป่าถล่ม/รพ.สต.ไร่บน/รพ.สต. ดอนยายหนู/รพ.สต.พระครูนิยุตธรรมสุนทร) - back up ไม่แน่นอน (รพ.สต. รวมไทย/รพ.สต. หนองเตาปูน/รพ.สต.เขาแดง/รพ.สต.หนองมะซาง)

  22. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอกุยบุรี (ต่อ) • การ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ -ทดสอบทุกครั้ง ได้แก่ รพ.สต. หนองเตาปูน/รพ.สต.ดอนกลาง/รพ.สต.ไร่บน - ทดสอบบางครั้ง ได้แก่ รพ.สต.บ้านป่าถล่ม/รพ.สต. ดอนยายหนู - ไม่ได้ทดสอบ ได้แก่ รพ.สต. กุยบุรี/รพ.สต. รวมไทย/รพ.สต.เขาแดง/ รพ.สต.โป่งกะสัง/รพ.สต.พระครูนิยุตธรรมสุนทร/รพ.สต.หนองมะซาง) • 3.การบันทึกข้อมูล -แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย และไม่ครบถ้วน - ANC/MCH/PP/ NCD SCREEN / CHRONIC FU /LABFU

  23. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอกุยบุรี (ต่อ) ปัญหาอุปสรรค • รพ.สต.กุยบุรีประมวลผลรายงานยังไม่ครบใช้สมุดบันทึกร่วม • รพ.สต.รวมไทย ใช้สมุดบันทึกร่วม ANC/MCH/WOMEN/PP ได้ประมาณ 50 % • รพ.สต.หนองเตาปูนประมวลผลรายงานไม่ครบใช้สมุดบันทึกร่วม • รพ.สต.เขาแดง ประมวลผลยังไม่ครบ ใช้สมุดบันทึกร่วม ANC/MCH/PP ได้ประมาณ 50 % • รพ.สต.ดอนกลาง รายงานใช้สมุดบันทึกร่วม แต่การบันทึกข้อมูลค่อนข้าง OK • ดูความครอบคลุม Vaccไม่ได้/ข้อมูลกลุ่มเสี่ยงไม่แยกหมู่ให้ • รพ.สต.โป่งกะสังประมวลผลรายงานยังไม่ครบใช้สมุดบันทึกร่วม • รพ.สต.บ้านป่าถล่ม ประมวลผลรายงานยังไม่ครบ ใช้สมุดบันทึกร่วมANC/MCH/PP ได้ประมาณ 50 % NCD ส่งออก excel ไม่ได้

  24. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอกุยบุรี (รพ.สต.11แห่ง) • รพ.สต.ไร่บน ออกรายงานมีปัญหาจากโปรแกรม ประมวลผลช้า รายงานไม่ตรง บางรายงานไม่ส่งออก excel • รพ.สต. ดอนยายหนู MCH ใช้สมุดบันทึกร่วม/มีปัญหาการนัดผู้ป่วย คลังยา • รพ.สต.หนองมะซาง ANC/PP/ CHRONIC FU /LABFU ได้ประมาณ 50 %ประมวลผลรายงานยังไม่ครบ ใช้สมุดบันทึกร่วม • รพ.สต.พระครูนิยุตธรรมสุนทร MCH ได้ประมาณ 50 % ประมวลผลรายงานยังไม่ครบ ใช้สมุดบันทึกร่วม • มีปัญหา รหัส ICD 10 การคัดกรอง NCD รหัสหัตถการ ระบบยาเวชภัณฑ์

  25. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอกุยบุรี (รพ.สต.11แห่ง) ข้อเสนอแนะ 1.ระดับจังหวัด เป็นที่ปรึกษา เป็นพี่เลี้ยง 2.ระดับอำเภอมีความเข้าใจ เป็นที่ปรึกษา เปิด check ข้อมูล 3.ให้มีการอบรมการใช้งานที่ต่อเนื่อง 4.อำเภอต้องดูลูกข่ายสม่ำเสมอและติดตามเป็นที่ปรึกษา ลงพื้นที่ทุก รพ.สต. 5.รพ.สต.ต้องพัฒนางาน พัฒนาระบบข้อมูล ระดับอำเภอมีทีมช่วยเหลือ ระดับจังหวัดเป็นหลักให้ทุกอำเภอได้

  26. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (รพ.สต.15แห่ง) ( ขาดความครบถ้วนรพ.สต.หนองปุหลก/ ดอนซอ/.ทุ่งเคล็ด) • 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS • 1.1 มีจำนวน 2เครื่อง (รพ.สต. ย่านซื่อ /รพ.สต. ห้วยทราย/ทบ.เมืองฯ ) • 1.2 มีจำนวน3 เครื่อง(รพ.สต. บ่อนอก/รพ.สต. ทุ่งโก/ รพ.สต.ด่านสิงขร/ รพ.สต.ห้วยน้ำพุ ) • 1.2 มีจำนวน4 เครื่อง(รพ.สต. อ่าวน้อย/รพ.สต.นิคมกม.12) • 1.3จำนวน5 เครื่อง(รพ.สต. เฉลิมพระเกียรติฯ /รพ.สต.บ้านหนองยายเอม/รพ.สต.เกาะหลัก/รพ.สต.คลองวาฬ.) • - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCISร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย ได้แก่ รพ.สต. ทุ่งโก/รพ.สต.อ่าวน้อย

  27. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (ต่อ) • 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูลการback up ข้อมูล - back up ทุกวัน(รพ.สต. ทุ่งโก/รพ.สต.ย่านซื่อ/ รพ.สต.เฉลิมพระเกียรติฯ /รพ.สต.บ้านหนองยายเอม/รพ.สต.ด่านสิงขร/รพ.สต.คลองวาฬ/รพ.สต.ห้วยน้ำพุ/ทบ.เมืองฯ ) • - back up ทุกอาทิตย์ (รพ.สต. บ่อนอก /รพ.สต. รพ.สต. อ่าวน้อย/รพ.สต.นิคม กม.12/รพ.สต.เกาะหลัก/รพ.สต. ห้วยทราย ส่วนใหญ่ทดสอบข้อมูล ที่ Back up เป็นบางครั้ง และที่ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ทุกครั้ง ได้แก่ • (รพ.สต. บ่อนอก /รพ.สต.เกาะหลัก /ทบ.เมืองฯ และรพ.สต.ที่ไม่ได้ทดสอบข้อมูล ที่ Back upได้แก่รพ.สต. อ่าวน้อย/รพ.สต.นิคม กม.12

  28. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (ต่อ) 3..การบันทึกข้อมูล รพ.สต.นิคม กม.12 บันทึกข้อมูลไม่ครบ จนท.น้อย(3 คน) รายงาน 504 ไม่ออก อำเภอควรติดตามทุกเดือน รพ.สต.เกาะหลัก มีปัญหาด้านการประมวลผลเช่น MCH มากกว่าความเป็นจริง /Labfuบางตัวไม่ขึ้น/ คลังยาในไม่ Link คลังยานอก /แฟ้ม Appoint ไม่ออก excel รพ.สต.คลองวาฬ บันทึกข้อมูล ประมาณ 90+ % ประมวลผลมีข้อมูลที่ขัดแย้งแต่ละแฟ้ม ทบ.เมืองฯ การบันทึกข้อมูลเก่ายังไม่สมบูรณ์ รพ.สต. เฉลิมพระเกียรติฯแฟ้ม death key แล้วเวลาประมวลงานโรคเรื้อรัง ชื่อคนตายไม่ตัดออก

  29. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (ต่อ) 3.การบันทึกข้อมูล รพ.สต. บ่อนอก การบันทึกข้อมูลยังไม่ครบถ้วน รพ.สต.บ้านหนองยายเอม การบันทึกข้อมูลเก่ายังไม่ได้แก้ไข รายงาน MCH NCD มีปัญหาจากโปรแกรม รพ.สต.ห้วยน้ำพุ การบันทึกข้อมูลยังไม่ครบถ้วน รพ.สต. ห้วยทราย NCD SCREEN /CHRONIC FUบันทึกข้อมูล ได้น้อย - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้ไม่ครบถ้วน ได้แก่ NCD SCREEN/drug/proceed/ LABFU/WOMEN/MCH

  30. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (ต่อ) ปัญหาอุปสรรค 1.รหัสยามีไม่ครบ 2.เมื่อ UP โปรแกรม ข้อมูลบางส่วนหายไป 3.เจ้าหน้าที่หลายคน งานหลายด้าน บันทึกกันหลายคน หลากหลาย บางครั้ง diag ไม่ตรงกัน 4.การประมวลผลมีข้อมูลที่ขัดแย้งแต่ละแฟ้ม 5.ไม่มีผู้ตรวจสอบข้อมูลระดับอำเภอ บางรพ.สต.ละเลยไม่ให้ความสำคัญข้อมูล 6.กลุ่มงานต่างๆในสสจ. ควรให้ความใส่ใจ ศึกษา เนื่องจากส่วนกลางใช้ข้อมูลจากโปรแกรม 7.ข้อมูลเก่าไม่ได้ Update /บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน 8.รหัสหัตถการยังมีไม่สมบูรณ์ครบถ้วน 9.การบันทึกข้อมูล จาก Notebook ที่ลงพื้นที่ ลงเครื่อง Server โดยไม่ต้อง Back Up แล้ว Restore 10.คลังยาในไม่ Link คลังยานอก

  31. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอเมือง (ต่อ) ข้อเสนอแนะ 1.จังหวัดควรรับโปรแกรมที่ครบถ้วน 2.จังหวัดพัฒนาศักยภาพให้สูงกว่าพื้นที่ / ระดับอำเภอทบทวนทักษะ ความรู้ 3.จังหวัดจัดอบรมทุกปี เนื่องจากเจ้าหน้าที่มีการเปลี่ยนแปลง 3.ระดับ รพ.สต.ต้องปรับปรุงความครบถ้วนของข้อมูล ระดับอำเภอทำหน้าที่สื่อสารทุกครั้งเมื่อมีการปรับปรุง โปรแกรม ระดับจังหวัดจัดอบรมกลุ่มเล็ก ส่วนกลางลดการเพิ่มข้อมูล/ รายงาน 4.รพ.สต.จ้างคนทำข้อมูลโดยตรง ระดับอำเภอมีผู้รับผิดชอบเฉพาะและควรตรวจข้อมูลก่อนส่ง 6.จ้างผู้รับผิดชอบรพ.สต.เป็นเครือข่าย 7.ระดับรพ.สต.ควรติดตั้ง ระบบ LAN ทุกแห่ง

  32. 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS 1.1 มีจำนวน 2 เครื่อง (รพ.สต. หินเทิน/รพ.สต. ทุ่งประดู่/รพ.สต.บ้านดอนใจดี/รพ.สต.นาหูกวาง) 1.2 มีจำนวน 3เครื่อง(รพ.สต. ห้วยยาง/รพ.สต.เขาล้าน/รพ.สต.เหมืองแร่/รพ.สต.อ่างทอง/รพ.สต.หนองหอย) 1.3 มีจำนวน 5 เครื่อง (รพ.สต.เนินดินแดง) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย มี3 รพ.สต. ได้แก่ รพ.สต.หินเทิน/ รพ.สต.บ้านดอนใจดี/รพ.สต.อ่างทอง ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอทับสะแก(รพ.สต.10แห่ง)

  33. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอทับสะแก (ต่อ) 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล การback up ข้อมูล - back up ทุกวัน (รพ.สต. ห้วยยาง/รพ.สต.ทุ่งประดู่/ รพ.สต.อ่างทอง) - back up ทุกสัปดาห์ (รพ.สต. หินเทิน/รพ.สต.บ้านดอนใจดี/ รพ.สต.เขาล้าน/รพ.สต.หนองหอย) - back up ทุก 2 สัปดาห์ - 1 เดือน (รพ.สต.นาหูกวาง) (รพ.สต. เหมืองแร่ ทุก 1 เดือน) - back up ไม่แน่นอน (รพ.สต. เนินดินแดง) การ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ รพ.สต.ส่วนใหญ่ไม่ได้ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ แต่บางรพ.สต. - ทดสอบทุกครั้ง ได้แก่ รพ.สต. หินเทิน - ทดสอบบางครั้ง ได้แก่ รพ.สต.บ้านดอนใจดี

  34. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอทับสะแก (ต่อ) 3..การบันทึกข้อมูล - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้ไม่ครบถ้วน Person/Death/ANC/MCH รพ.สต.เนินดินแดงบันทึกข้อมูลไม่ครบ ข้อมูลนวดไม่แสดง รพ.สต.หินเทิน ประมวลวันนัด EPI ไม่ได้ /ดูวันนัด ANC ไม่ได้ /ส่งออกรายงาน ไม่ตรง รง.5 รพ.สต.เขาล้าน ใช้สมุดบันทึกร่วม รพ.สต.อ่างทอง บันทึกข้อมูลไม่ครบ /บุคลากรขาดความชำนาญ มีปัญหาโปรแกรม รห้สคัดกรองเรื้อรังไม่ตรง /รายงาน 400 ผู้รับบริการอื่นไม่ออกรายงาน /งานอนามัยร.ร.เวลา Update หน้ากาก ข้อมูลจะเพี้ยนไป

  35. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอทับสะแก (ต่อ) ปัญหาอุปสรรค 1.เจ้าหน้าที่ขาดความเข้าใจโปรแกรม 2.คนเขียนโปรแกรมสื่อความหมายไม่ตรงกับคนใช้งาน ทำให้ไม่ชัดเจน 3.ระดับอำเภอให้คำแนะนำไม่ได้ ข้อเสนอแนะ 1.ต้องการให้อำเภอมีผู้รับผิดชอบระดับอำเภอ 2.ระดับอำเภอแจ้งการ Update โปรแกรม/ตรวจข้อมูลก่อนส่ง/ติดตามระดับรพ.สต.สม่ำเสมอ 3.จังหวัดหรืออำเภอประชุมเดือนละครั้ง 4.ระดับจังหวัดตรวจข้อมูลก่อนส่ง สนย./ส่วนกลางปรับโปรแกรมให้ทันสมัย

  36. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพาน (14 แห่ง) 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS • 1.1 มีจำนวน 1 เครื่อง (รพ.สต. หนองตาจ่า/รพ.สต.ทองมงคล/รพ.สต.ถ้ำคีรีวงศ์/รพ.สต.หนองมงคล/ รพ.สต.คลองลอย ) • 1.2 มีจำนวน 2 เครื่อง (รพ.สต. พงศ์ประศาสน์) • 1.3 มีจำนวน 3 เครื่อง (รพ.สต. ชัยเกษม/รพ.สต.บ้านทองมงคล/รพ.สต.ธงชัย/รพ.สต.ทุ่งขี้ต่าย/รพ.สต.แม่รำพึง/รพ.สต.ร่อนทอง/ รพ.สต.วังน้ำเขียว) • 1.4 มีจำนวน 4 เครื่อง (รพ.สต.ห้วยไก่ต่อ) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย มี 5 รพ.สต. ได้แก่ (รพ.สต.ห้วยไก่ต่อ/รพ.สต.ธงชัย/รพ.สต.ถ้ำคีรีวงศ์/รพ.สต.ทุ่งขี้ต่าย/รพ.สต.แม่รำพึง)

  37. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพาน (ต่อ) 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล การback up ข้อมูล - back up ทุกส้ปดาห์ (รพ.สต.ห้วยไก่ต่อ/รพ.สต.บ้านทองมงคล/ รพ.สต.ถ้ำคีรีวงศ์/รพ.สต.ร่อนทอง/รพ.สต.วังน้ำเขียว) - back up ทุก 2 ส้ปดาห์ (รพ.สต. ชัยเกษม) - back up ทุกเดือน(รพ.สต. หนองตาจ่า/รพ.สต.ทองมงคล/รพ.สต.หนองมงคล/รพ.สต. พงศ์ประศาสน์/รพ.สต.ทุ่งขี้ต่าย/รพ.สต.คลองลอย - back up ไม่แน่นอน (รพ.สต.แม่รำพึง/รพ.สต.ธงชัย) การ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ - ทดสอบทุกครั้ง ได้แก่ รพ.สต.ธงชัย/รพ.สต.วังน้ำเขียว - ทดสอบบางครั้ง ได้แก่ รพ.สต. หนองตาจ่า/รพ.สต. ชัยเกษม/ รพ.สต.ทุ่งขี้ต่าย/รพ.สต.แม่รำพึง/รพ.สต.ร่อนทอง/รพ.สต.คลองลอย - ไม่ได้ทดสอบ ได้แก่รพ.สต. รพ.สต.ห้วยไก่ต่อ /รพ.สต.ทองมงคล/รพ.สต.บ้านทองมงคล/รพ.สต.ถ้ำคีรีวงศ์/รพ.สต.หนองมงคล

  38. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพาน (ต่อ) 3.การบันทึกข้อมูล - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย และไม่ครบถ้วน - ANC/MCH/PP/ NCD SCREEN / CHRONIC FU /LABFU รพ.สต. หนองตาจ่า แฟ้มANC/PP/MCH/NCD SCREEN / CHRONIC ไม่ครบถ้วน / Net ช้ารพ.สต. ชัยเกษมแฟ้มส่วนใหญ่บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน /แฟ้ม Person หลาย field เป็นค่าว่าง รพ.สต.ห้วยไก่ต่อ แฟ้ม ANC ไม่เข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูล/แฟ้ม PP,MCH ข้อมูล ร.พ.ไม่ชัด / NCD SCREEN , CHRONIC FU ,LABFU ไม่ครบถ้วน ทำไม่ทัน รพ.สต.ทองมงคล แฟ้ม Women/FP ข้อมูล error / LABFUยังไม่ดำเนินการ • รพ.สต.ธงชัย แฟ้ม LABFU ไม่ครบถ้วน / MCH ข้อมูลล่าช้า/EPIปัญหาจากโปรแกรม • รพ.สต.ถ้ำคีรีวงศ์ แฟ้มDeath ประมาณ 50% แฟ้มANC/PP/MCH ประมาณ20%ลงข้อมูลไม่ทัน โปรแกรมไม่ให้ย้อนหลัง ใช้สมุดบันทึกร่วม • รพ.สต.หนองมงคลแฟ้ม Women/FP/EPI/Nutrition/ANC/MCH/PP/ Homeประมาณ 50%

  39. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพาน (ต่อ) รพ.สต. พงศ์ประศาสน์ แฟ้ม MCH/ NCD SCREEN ประมาณ 50% แฟ้มMCHมีปัญหาที่โปรแกรม NCD SCREEN รหัส Code ไ,ม่ตรงกับ สปสช. การประมวลผลไม่สอดคล้องกับข้อมูล บางแฟ้มพิมพ์งานไม่ได้ รพ.สต.ทุ่งขี้ต่าย แฟ้ม ANC ไม่เข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูล/แฟ้ม PP,MCH ข้อมูล ร.พ.ไม่ครบ/ NCD SCREENข้อมูลทำไม่ทัน /CHRONIC FU ยังไม่เคยให้บริการ /บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน อำเภอควรมีระบบดูแล รพ.สต.แม่รำพึง แฟ้ม NCD SCREEN ประมาณ 50% จากลงข้อมูลไม่ครบ เจ้าหน้าที่ไม่ละเอียดรอบคอบ รพ.สต.ร่อนทองแฟ้ม NCD SCREENประมาณ50% ใช้สมุดบันทึกร่วม รพ.สต.คลองลอย แฟ้ม Death /Appoint ประมาณ 50% /Proceed 15 % แฟ้ม ANC/PPประมาณ 70% Women/MCHประมาณ 80% รพ.สต.วังน้ำเขียวทุกแฟ้มมีปัญหาไม่เข้าใจ /ปัญหารหัส/ลงข้อมูลไม่ครบ ทุก Field

  40. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพาน (ต่อ) ปัญหาอุปสรรค 1.บุคลากรไม่เข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูล 2.ใช้สมุดบันทึกร่วม ข้อเสนอแนะ 1.ระดับอำเภอ ศึกษา/เข้าใจโปรแกรม ดูแลรพ.สต.มากกว่านี้ / ไม่หงุดหงิด/ ลงทดสอบการใช้โปรแกรมและตรวจสอบข้อมูลในทุก รพ.สต. 2.ระดับจังหวัดจัดอบรมและลงโปรแกรมให้กับพื้นที่ในวันจัดอบรม /ลดรายงานกระดาษ

  41. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (8 แห่ง) 1.คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานJHCIS 1.1 มีจำนวน 1 เครื่อง (รพ.สต. บางเบิด/รพ.สต.ทรายทอง ) 1.2 มีจำนวน 3 เครื่อง (รพ.สต. ศรีนคร/รพ.สต.บางเจริญ) 1.3 มีจำนวน 4 เครื่อง (รพ.สต. ไชยราช) 1.4 มีจำนวน 6 เครื่อง (รพ.สต.ช้างแรก/รพ.สต.บางสะพาน) 1.5 มีจำนวน 7 เครื่อง (รพ.สต.ดอนจวง) - รพ.สต. ที่ใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เป็น Server JHCIS ร่วมกับงานอื่นๆของหน่วยงานด้วย ได้แก่ (รพ.สต. ศรีนคร/รพ.สต.ดอนจวง)

  42. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (ต่อ) 2.การบริหารความเสี่ยงข้อมูล การback up ข้อมูล - back up ทุกวัน รพ.สต.ช้างแรก รพ.สต.ดอนจวง รพ.สต.ทรายทอง ( รพ.สต. ศรีนคร 1 – 2 วัน ) - back up ทุกส้ปดาห์ (รพ.สต.บางเจริญ) - back up ไม่แน่นอน (รพ.สต. บางเบิด/รพ.สต.บางสะพาน/รพ.สต. ไชยราช) การ ทดสอบข้อมูล ที่ Back up ไว้ - ทดสอบทุกครั้ง ได้แก่ รพ.สต.ดอนจวง/ รพ.สต.บางเจริญ - ทดสอบบางครั้ง ได้แก่ รพ.สต.ศรีนคร/รพ.สต.ช้างแรก/รพ.สต.บางสะพาน - ไม่ได้ทดสอบ ได้แก่ รพ.สต. บางเบิด/รพ.สต.ทรายทอง/รพ.สต. ไชยราช

  43. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (ต่อ) 3..การบันทึกข้อมูล - แฟ้มที่บันทึกข้อมูลได้น้อย และไม่ครบถ้วน - ANC/MCH/PP/ NCD SCREEN / CHRONIC FU /LABFU รพ.สต. ศรีนคร การบันทึก ประมาณ 90 – 95% บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน รพ.สต.ช้างแรก เฉพาะ MCH ประมาณ 50% บันทึกไม่ครบทุกครั้ง รพ.สต.ดอนจวง แฟ้ม Person ได้ประมาณ 80 + % สาเหตุจาก มีการปรับปรุง รหัส ของ Field บังคับบางตัว (อาชีพ) , MCH/PP/ NCD SCREENลงข้อมูลไม่ครบ ประมาณ 50% / แฟ้ม NCD Screen, CHRONIC FU ไม่เข้าใจ/แฟ้ม Lab บันทึกแล้วไม่แสดงข้อมูล /รายงาน EPI ยังไม่ได้ปรับปรุงให้เป็น Vaccปกติสำหรับปัจจุบัน ทำให้รายงานไม่ปรากฏ/รายงาน MCHเยี่ยมหลังคลอด ทารก ครั้งที่2บันทึกข้อมูลแต่ไม่ปรากฎในรายงาน

  44. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (ต่อ) รพ.สต. บางเบิด ปัญหาทุกแฟ้มบันทึกข้อมูลไม่ครบ ควรอบรม จนท.ทุกคน รพ.สต.ทรายทอง แฟ้ม ANC 0 % เนื่องจากไม่มีบริการ Death /Card/ Appoint ได้ประมาณ 80% , MCHไม่ได้ลงข้อมูล บันทึกข้อมูลไม่ครบ รพ.สต. ไชยราชไม่ให้รายละเอียด รพ.สต.บางเจริญ Survielได้ประมาณ 50% แฟ้มอื่น 70-85 % รพ.สต.บางสะพาน Person /Card 80% ปัญหาอุปสรรค 1.เจ้าหน้าที่ภาระงานมาก ทำให้ไม่มีเวลาศึกษาการใช้งาน โปรแกรมอย่างจริงจัง 2.ระดับรพ.สตต้อง.เข้าใจการบันทึกที่ตรงกัน /มีความหลากหลายแต่ละคน/ต้องสามารถประมวลผลออกมาใช้ 3.ข้อมูลที่มีอยู่อาจไม่น่าเชื่อถือ 4.รหัสมาตรฐาน มีไม่ครบ (วิธีคุมกำเนิด/ ยาไม่ครบทุกชนิด)

  45. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (ต่อ) ข้อเสนอแนะ 1.ระดับรพ.สต.มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการบันทึกใช้โปรแกรม และประมวลผลใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ระดับอำเภอควร ดูแล ระบบ โปรแกรมของ รพ.สต.มากกว่านี้ และ ตรวจสอบการใช้โปรแกรมและตรวจสอบข้อมูลในทุก รพ.สต.พร้อมเสนอแนะข้อบกพร่องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อดำเนินการแก้ไขทันท่วงที 3.ระดับอำเภอนำข้อมูลที่ได้รับจาก รพ.สต.ประมวลผลและออกรายงานเพื่อประเมินผลงาน หรือกำหนดเป้าหมายทำงาน 4.ระดับจังหวัดติดตามแบบเจาะลึก การบันทึกข้อมูลรายอำเภอ 5.ระดับจังหวัดสนับสนุน รพ. และรพ.สต.ในการจัดทำเครือข่ายระบบ Net workเพื่อการจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ

  46. ข้อมูลจากผลสำรวจอำเภอบางสะพานน้อย (ต่อ) 6.ข้อมูลควร Online และ Realtime 7.การบันทึกข้อมูลควรบันทึกทันทีที่ให้บริการ 8.นำข้อมูล จากโปรแกรม ไปใช้ตั้งเป้าหมาย เพื่อเร่งให้มีคุณภาพ 9.ส่วนกลางพัฒนาปรับปรุงรายงานให้ครบถ้วน สมบูรณ์

  47. สิ่งที่คณะกรรมการ ต้องดำเนินการ 1.ประชุมรพ.สต เพื่อวิเคราะห์ ทบทวน/ปรับปรุง แผน ได้แก่.......... 1.1การทำงานพื้นฐาน เครื่องคอมพิวเตอร์ (ศักยภาพ Server /จำนวน... ) แผนสนับสนุน ชัดเจน ปีไหน ลงที่ไหน จำนวนเท่าไร 1.2 บุคลากร -ทักษะคอมฯ / การใช้งาน /ความรู้พื้นฐานคนบันทึก/ความเข้าใจแฟ้มต่างๆ แผนพัฒนา ประชุม/อบรม / จัดกลุ่ม /ดี ปานกลาง ปรับปรุง / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.3ความสมบูรณ์แฟ้ม (ความครบถ้วน ครอบคลุม ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า แต่ละแฟ้ม) แผนปรับปรุง ปัญหาจากการลงข้อมูล/จากโปรแกรม หาสาเหตุ แล้วแก้ไข กิจกรรม นิเทศสุ่มตรวจข้อมูล โดย หน.รพ.สต./ผู้รับผิดชอบ ในรพ.สต. นิเทศผ่าน Provisโดยอำเภอ นิเทศอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง - เป็นที่ปรึกษาโปรแกรม/การบันทึกข้อมูล ลงตรวจตรวจสอบข้อมูล/สุ่มประมวลผล

  48. สิ่งที่ต้องดำเนินการ แผน : แผนเร่งด่วน อบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กก.เครือข่าย : ติดตามตรวจสอบตามระยะ : แผนสนับสนุน การใช้ข้อมูล เช่นใช้ข้อมูลจาก 21แฟ้มในการตั้งเป้าหมาย หรือใช้ผลงานจาก 21 แฟ้ม แทนการขอรายงาน 2.ดำเนินการตามกิจกรรมในแผน 3.ติดตาม/ตรวจสอบ/เป็นที่ปรึกษา 4.ประชุม/นำเสนอผลการปรับปรุง 5.วางแผนพัฒนาต่อเนื่อง

  49. กำหนดปรับปรุงและส่งแผนกำหนดปรับปรุงและส่งแผน • ให้คณะกรรมการแต่ละอำเภอ ส่งแผนที่ปรับปรุง ให้จังหวัดภายใน วันอังคารที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๕ และหากมีผล ที่พัฒนาไปแล้วก็รายงานผลมาพร้อมกัน

  50. Web ที่ติดตามความก้าวหน้า การพัฒนาฐานข้อมูล JHCIS • http://op.nhso.go.th/op(สปสช.) • http://healthcaredata.moph.go.th(สนย.) • http://203.157.159.3 (provisจังหวัด) • http://Jhcis.moph.go.th(JHCIS)

More Related