1 / 48

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร. การประยุกต์ใช้แนวทาง TPM กับอุตสาหกรรม ในประเทศไทย. บ รรยายโดย ผศ. สุวิทย์ บุณยวานิชกุล. TPM. ...เส้นทา งสู่… ความเป็นผู้ผลิตระดับโลก. Plantwide Losses (16 losses). เครื่องจักร : 1. เสียก่อนกำหนด 2. ปรับแต่งและปรับตั้ง

fallon
Télécharger la présentation

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านการบำรุงรักษาสภาพเครื่องจักร การประยุกต์ใช้แนวทาง TPMกับอุตสาหกรรม ในประเทศไทย บรรยายโดย ผศ. สุวิทย์ บุณยวานิชกุล

  2. TPM ...เส้นทางสู่… ความเป็นผู้ผลิตระดับโลก

  3. Plantwide Losses (16 losses) เครื่องจักร : 1. เสียก่อนกำหนด 2. ปรับแต่งและปรับตั้ง 3. เดินตัวเปล่า และหยุดสั้น ๆ 4. ความเร็วตก 5. เกิดของเสีย 6. ผลผลิตลดช่วงเริ่มต้นงาน 7. เปลี่ยนชิ้นส่วนก่อนกำหนด 8. ซ่อมตามกำหนด วัสดุ : ใช้วัสดุไม่ได้ตามกำหนด คน : 1. บริหารงานไม่มีประสิทธิภาพ 2. การเคลื่อนไหวที่ไม่ได้งาน 3. โครงสร้างที่ไร้ประสิทธิภาพ 4. แผนไม่สอดคล้องกับความต้องการ 5. ความผิดพลาดจากการวัดและปรับแต่ง พลังงาน : ใช้พลังงานด้อยประสิทธิภาพ การใช้ประโยชน์ : ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไม่คุ้มค่า

  4. TPM Goals ….. • Zero Unplanned Downtime • Zero Defeets • Zero Speed Losses • Zero Accident • Miminum Life Cycle Cost

  5. TPM เป็นการเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมในการทำงานของคน Old Attitude “I operate,You fix” “I fix, you design” “I design,You operate” TPM Attitude “Weare all responsibelity for ourequipment”

  6. TPM เป็นการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณค่า (VAM) • ปรับปรุงเครื่องจักร คน และระบบ • เน้นต้นทุน • อนุรักษ์นิยม • คุณภาพ กำหนดส่งมอบ ผลิตภาพ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์

  7. T Total - Efficiency (OEE) - System (LCC) - Participation (Employee) Productive or Perfect Maintenance including Management p m

  8. TPM คือ... • Total Productive Maintenance • Total Productive Manufacturing • Total Productive Management

  9. TPM พัฒนาเครื่องจักร พัฒนาคน สร้างวัฒนธรรมใหม่ ในการทำงานขององค์กร กลยุทธ์ในการดำเนินการ TPM

  10. Quality In-process defeets 40%, 10% No. of complaints 0, 1/9 Productivity OEE 97%, 92% Productivity 2.2 times 1.7 times No. of Breakdowns 1/20, 1/50 Costs Streaming expense 50%, 30% Energy expense 1/2 Maintenance expense 60%, 40% Delivery Inventory turnover 1.3 times stock 60%, 50% No. of delay days 0 Safety Accident Zero Morale No. of improvement proposals 30 times, 5 times Results of TPM Activity

  11. การสูญเสียยิ่งใหญ่ 6 ประการ ในการทำงานของเครื่องจักร 1. เครื่องเสีย 2. การปรับตั้ง ปรับแต่ง 3. เครื่องเดินตัวเปล่า หยุดสั้น ๆ 4. ความเร็วตกลง 5. เกิดของเสีย ซ่อมของเสีย 6. ผลผลิตลดลงในช่วงเริ่มต้น

  12. 1. เครื่องเสีย 2. ปรับตั้ง ปรับแต่ง เวลาทำการ เวลาทำงาน 3. เดินตัวเปล่า หยุดสั้น ๆ เวลาทำงานสุทธิ 4. ความเร็วตก เวลาทำงานที่ ได้งานจริง 5. ของเสีย 6. ผลผลิตลดในช่วงเริ่มต้น เครื่องจักร

  13. ความพร้อมของเครื่องจักร = (A : availability)

  14. อัตราสมรรถนะของเครื่องจักรอัตราสมรรถนะของเครื่องจักร (P : Performance rate) = อัตราทำงาน (Time Rate) = อัตราความเร็ว (Speed Rate) =

  15. อัตราของดี (Q : good quality rate) =

  16. ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักร (OEE : Overall equipment effectiveness) A X P X Q =

  17. World Class Manufacturing OEE > 85 % นั้น คือ A 90% P 95% Q 99% OEE = .90 x 095 x .99 x 100 = 85%

  18. การสูญเสียในเครื่องจักรการสูญเสียในเครื่องจักร การเสื่อมสภาพ สิ่งผิดปกติเล็ก ๆ น้อยๆ ขาดการสังเกตหรือ ละเลย การสูญเสียแฝงเร้น (Chronic Losses) การสูญเสียที่ชัดแจ้ง (Sporadic Losses) ประสิทธิภาพโดยรวม ของเครื่องต่ำลง

  19. ทำจุดบกพร่องที่ซ่อนเร้นอยู่ให้ปรากฎออกมาทำจุดบกพร่องที่ซ่อนเร้นอยู่ให้ปรากฎออกมา เครื่องจักรขัดข้อง - ขยะ ฝุ่น รอยเปื้อน - หลวม หลุด อุดตัน - รั่วซึม กัดกร่อน สนิม - บิดเบี้ยว ร้าว แตกหัก สั่น - ร้อนจัด เย็นจัด เสียงดัง …. ฯลฯ สิ่งผิดปกติ

  20. เสาหลัก 8 ประการของ TPM 1. การให้การศึกษาและฝึกอบรม (Ed&T) 2. การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) 3. การปรับปรุงงาน (SI) 4. การบำรุงรักษาตามแผน (Pl.M) 5. การจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (Safety & Envir.) 6. การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Q.M) 7. การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (I.C, EEM) 8. การเพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมสนับสนุน (Eft. Admin)

  21. การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (IC, EEM) การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (QM) การให้การศึกษาและฝึกอบรม (Ed & T) ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม (S & Envir.) การบำรุงรักษาตามแผน (Planned M.) การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (SI) Effective Administration การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM)

  22. Pillar no.1 Education and Training • ให้เรียนรู้ในสิ่งที่ต้องนำมาใช้ปฏิบัติงาน • เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ได้ • สิ่งที่เรียนรู้แล้วต้องนำมาปฏิบัติทันที • พัฒนาทั้ง Knowledge และ Skill

  23. TPM ต้องการ….. 1. ผู้ “รู้” ในระดับที่ 5 2. ผู้ “รู้” ในระดับที่ 5 ที่รอบรู้ 3. Classroom, OJT, Relay……. Self development

  24. Pillar no.2 การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance) หลักการ :เปลี่ยนความคิดของคนเกี่ยวกับงานและเครื่องจักร เพื่อสร้างสถานที่ทำงานที่มีประสิทธิภาพสูง สะดวกสบาย ถูกสุขลักษณะ

  25. เป้าหมายของการบำรุงรักษาด้วยตนเองเป้าหมายของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง • ป้องกันการเสื่อมสภาพของเครื่องจักร • รักษาสภาพของเครื่องจักร • ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักรให้ดีขึ้น • x-function group

  26. ประเด็นเพื่อความสำเร็จของ AM ดำเนินกิจกรรม AM อย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง ร่วมกับ Ed & T, SI, Planned M. อย่างสอดคล้องกลมกลืน

  27. 7. พัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น 6. การจัดการสถานที่ทำงานโดยรอบ 5. ปรับปรุงมาตรฐานและทำการตรวจเช็คด้วยตนเอง 4. ทำการตรวจเช็คโดยรวม 3. จัดทำมาตรฐานเบื้องต้น 2. ขจัดสาเหตุของ “ความสกปรก” 1. การทำความสะอาดเบื้องต้น 7 ขั้นตอนในการทำการบำรุงรักษาด้วยตนเอง

  28. ฝ่ายบำรุงรักษา 20~25% งานใหม่ - ปรับปรุงเครื่องจักร - MP - Re-design - Training - Pre. M - Overhual etc. พนักงานฝ่ายผลิต - การบำรุงรักษาประจำวัน - การทำความสะอาด - การปรับแต่ง - การตรวจเช็ค - การหล่อลื่น ภารกิจงานบำรุงรักษาที่เปลี่ยนไป

  29. Pillar no.3 การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Specific Improvement) • Cross fuction project teams • Maximizing production Effectiveness • Why-why analysis • P-M analysis

  30. SI AM

  31. การปรับปรุงเทคโนโลยีและความชำนาญการปรับปรุงเทคโนโลยีและความชำนาญ ในการบำรุงรักษา การปรับปรุงเครื่องจักร • ความชำนาญงานเฉพาะด้าน • ความชำนาญในการซ่อมแซม • ความชำนาญในการตรวจเช็คและวัดค่าต่าง ๆ • เทคนิคการวินิจฉัยอาการเครื่องจักร • เทคโนโลยีการบำรุงรักษาใหม่ ๆ • สนับสนุนการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) • 6 ขั้นตอนการบำรุงรักษาตามแผน • Corrective Maintenance • Maintenance Prevention • Predictive Maintenance กิจกรรมของการบำรุงรักษาตามแผน

  32. 6 ขั้นตอนในการสร้างระบบการบำรุงรักษาตามแผน 1. ประเมินผลเครื่องจักรและสภาวะปัจจุบัน 2. ฟื้นฟูสภาพเครื่องจักรและแก้ไขข้อบกพร่อง 3. สร้างระบบการจัดการข้อมูล (IMS) 4. สร้างระบบการบำรุงรักษาตามคาบเวลา 5. สร้างระบบการบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ 6. ประเมินผลระบบการบำรุงรักษาตามแผน

  33. Pillar no.5 การจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม • fool-proof, fail safe • ตรวจสอบความปลอดภัย • มาตรฐาน • อุปกรณ์

  34. Pillar no.6 การบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)

  35. Pillar no.7 การควบคุมตั้งแต่เริ่มต้น (Initial control, Initial management, Early Equipment management) ควบคุม :เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์

  36. Equipment L.C.C. x x Equipment Life

  37. Pillar No.8 การเพิ่มประสิทธิภาพกิจกรรมสนับสนุน (Effective Administration)

  38. 1. การประกาศเจตนารมย์ของผู้บริหารระดับสูง ประเด็นที่ควรพิจารณา : • การเอาจริงเอาจังของผู้บริหารระดับสูง • การให้เวลาและงบประมาณในการดำเนินการ • จุดมุ่งหมาย (ลดต้นทุน, พนักงานที่กระฉับกระเฉง…….) • เป้าหมาย

  39. 2. การให้การศึกษาอบรมและการรณรงค์ • ผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง หัวหน้างาน พนักงานปฏิบัติการ • แนวทางการให้ความรู้ • อบรมในห้องเรียน • ทัศนศึกษา • Model Equipment, Model Line • การรณรงค์ • Banners, posters, Catch phease

  40. 3. การจัดโครงสร้าง • Overlapping small group organization • TPM promotion steering committee • TPM promotion office • - TPM facilitator • Working group for 8 pillars

  41. 4. กำหนดนโยบายและเป้าหมาย • Basic policy • Targets

  42. 5. จัดทำ TPM Master Plan • Where you are ? • What you want to become ? • How to implement TPM technique to achieve targets ?

  43. 6. Kick off • TPM Kick off meeting Meeting Program • การประกาศเจตนารมณ์โดยผู้บริหารระดับสูง • การจัดองค์กรส่งเสริม TPM • ตัวอย่างผลได้จากการทำ TPM • นิทรรศการ poster, catch, phrases, เครื่องจักรตัวอย่าง, • model lines..

  44. ข้อพึงปฏิบัติในการดำเนินงาน TPM • ให้ทุกคน ทุกระดับได้รับการฝึกอบรม • มีส่วนร่วมในกิจกรรม • ให้อิสระในระดับที่เหมาะสม • สนับสนุนและบันทึกประวัติ (รับรู้) • กำหนดเป้าหมายที่เหมาะสม

  45. ข้อที่ต้องละเว้น • ลืมการประชาสัมพันธ์ • Part time champion • ไม่ฝึกอบรม facilitators • ไม่ฝึกอบรมกลุ่ม • ละเลยบทบาทและคำมั่นสัญญา • ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร

  46. ข้อควรระวังของกลุ่มย่อยข้อควรระวังของกลุ่มย่อย - ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน - กลุ่มย่อยไม่ใช่สำหรับใครก็ได้ - ความไว้วางใจได้เป็นสิ่งสำคัญมาก - “คน” สำคัญที่สุด - ต้องการเวลาในการดำเนินงาน

  47. มาตรฐานของกลุ่มย่อย (1) • โครงสร้าง • - หัวหน้ากลุ่ม, สมาชิกกลุ่ม • - x-function team • - แนวทางปฏิบัติ • - เวลาในการประชุมกลุ่ม • - สถานที่สำหรับการประชุม

  48. มาตรฐานของกลุ่มย่อย (2) • พฤติกรรม • - ทุกคนต้องเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง • - มีบันทึกการประชุมทุกครั้ง • - เริ่มและเลิกตรงเวลา • - ผลได้และความก้าวหน้าของกิจกรรมต้องแสดงให้ชัดเจน • - ตัดสินใจด้วยกลุ่ม

More Related