1 / 80

สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ

สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ. พ.ญ.รุจิรา มังคละศิริ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. สิ่งที่ท่านเคยได้ยินเกี่ยวกับการปฏิรูประบบสุขภาพ. ก. สร้างนำซ่อม ข. รุกมากกว่ารับ ค. องค์รวมดีกว่าแยกส่วน ง. สุขภาพเป็นเรื่องของชาวบ้าน. การปฏิรูประบบสุขภาพด้านใดที่ท่านเกี่ยวข้องมากที่สุด.

fay-barr
Télécharger la présentation

สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิสื่อประกอบการบรรยายระบบบริการปฐมภูมิ พ.ญ.รุจิรา มังคละศิริ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

  2. สิ่งที่ท่านเคยได้ยินเกี่ยวกับการปฏิรูประบบสุขภาพสิ่งที่ท่านเคยได้ยินเกี่ยวกับการปฏิรูประบบสุขภาพ ก. สร้างนำซ่อม ข. รุกมากกว่ารับ ค. องค์รวมดีกว่าแยกส่วน ง. สุขภาพเป็นเรื่องของชาวบ้าน

  3. การปฏิรูประบบสุขภาพด้านใดที่ท่านเกี่ยวข้องมากที่สุดการปฏิรูประบบสุขภาพด้านใดที่ท่านเกี่ยวข้องมากที่สุด ก. กฎหมาย ข. การเงินการคลัง ค. การบริการสุขภาพ ง. การมีส่วนร่วมของประชาชน

  4. งานเวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice-FP) คืออะไร? ก. การตรวจผู้ป่วย OPD แบบแพทย์ทั่วไป (GP) ข. การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home Health Care) ค. ข้อ ก.+ ข้อ ข. ง. ผิดทุกข้อ เฉลย FP = OPD + HHC

  5. งานเวชปฏิบัติครอบครัวงานเวชปฏิบัติครอบครัว 1. บริการด่านแรก (Gate Keeper) 2. บริการผสมผสาน (Integrated Care) - ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู 3. บริการองค์รวม (Holistic Care) - กาย จิต จิตวิญญาณ สังคม 4. บริการต่อเนื่อง (Continuity of Care) - เกิดจนตาย ระยะก่อนป่วย ระยะป่วย และหลังป่วย เชื่อมโยงระบบส่งต่อ 1-2-3 Care 5. เสริมสร้างการดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care)

  6. แนวคิด / กระบวนทัศน์ นโยบาย ระบบบริการ กำลังคน

  7. การปรับกระบวนทัศน์ Bio-medical Bio-Psycho-Social Disease Illness Suffering

  8. DEFINITIONS : DISEASE = Abnormal, medically defined changes in the structure of human body

  9. DEFINITIONS : ILLNESS = Personal’s experience of lack of physical or mental well-being making inability to function normally in social roles

  10. องค์ประกอบของระบบที่สัมพันธ์กับบุคคลองค์ประกอบของระบบที่สัมพันธ์กับบุคคล • สังคม • ชุมชน • ครอบครัว • บุคคล • ระบบอวัยวะ • อวัยวะ • เซลล์ • ปรมาณู ความเข้าใจด้านสังคมจิตวิทยา ความรู้ด้านกายภาพ ชีวภาพ

  11. Basic Health Service Equity Quality Efficiency Social Accountability Primary Health Care Community Participation Appropriate Technology Intersectoral Collaboration Reorientation of Health Service Health For All

  12. เป้าหมายบริการที่พึงประสงค์เป้าหมายบริการที่พึงประสงค์ • Equity เท่าเทียม เข้าถึงได้ (ภูมิศาสตร์ สังคมจิตวิทยา เศรษฐกิจ) • Quality คุณภาพด้านเทคนิค (มาตรฐานทางวิชาชีพ) คุณภาพด้านสังคม (ผสมผสาน เป็นองค์รวม ต่อเนื่อง) • Efficiency ประสิทธิภาพ (คุ้มทุน คุ้มค่า) • Social Accountability สนองความต้องการของประชาชน ประชาชนสามารถตรวจสอบได้

  13. ทำไมต้องปฏิรูประบบสุขภาพทำไมต้องปฏิรูประบบสุขภาพ 1). เน้นการตั้งรับเพื่อซ่อมสุขภาพเสีย มากกว่าสร้าง 2). ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพแพงมากแต่ได้ผลต่ำ ประสิทธิภาพต่ำ (2.5แสนล้านต่อปี เพิ่มปีละ 10 %) 3). คนไทยป่วยและตายโดยไม่จำเป็นเป็นจำนวนมาก 4). ระบบบริการสุขภาพมีปัญหา มีคุณภาพลึกแคบ เข้าถึงยาก 5). คนไทยเกือบ 20 ล้านคนขาดหลักประกันสุขภาพ 6). ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย นพ.สำเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.

  14. กลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพกลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพ การปฏิรูปการเงินการคลัง • การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วน หน้า • วิธีการจ่ายเงินให้แก่สถานบริการ Capitation (รายหัว) / DRG

  15. กลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพกลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพ การปฏิรูประบบบริการ • การกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ที่จำเป็น • พัฒนาสถานบริการปฐมภูมิด้วยแนวคิด เวชศาสตร์ครอบครัว • พัฒนาเครือข่ายบริการ • เน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค • การรับรองคุณภาพบริการ

  16. กลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพกลยุทธ์การปฏิรูประบบสุขภาพ การเสริมพลังแก่ประชาชน • ให้ประชาชนมีสิทธิในการเลือกสถานบริการ • การกระจายอำนาจทางสาธารณสุข • ประชาคม • การคุ้มครองผู้บริโภค

  17. หลักการประกันสุขภาพถ้วนหน้าหลักการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (มาตรฐานวิชาการ) (ผู้ซื้อบริการ) 1 STANDARD SETTER PURCHASER PROVIDER USER / CLIENTS (สถานบริการ) (ประชาชน)

  18. Register กับ Registee 2 Register (Provider) Registee (user,clients) บัตรประชาชน 13 หลัก ปฐมภูมิ BOND แห่งความ ผูกพันธ์และพันธกิจ นพ.สำเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.

  19. ระบบการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการระบบการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ Technical Quality Specialized Care Referral Center Social Quality Simple treatment Health Promotion Hospital Primary Care ผสมผสาน องค์รวม ต่อเนื่อง 1.คุณภาพบริการ 2. ไม่ซ้ำซ้อน 3. มีระบบส่งต่อทั้งข้อมูลข่าวสารและผู้ป่วย

  20. ๐ ๐ ๐ 1 2 3 รพศ./ รพท. รพศ./ รพท. 3 ๐ ๐ ๐ รพช. รพช. 1 2 2 ๐ ๐ 1 1 สอ. ศสช. การเปลี่ยนแปลงของระบบบริการ

  21. สอ. หมอพูด ที่ไม่มียา รพ. หมอยา ที่ไม่มีเวลาพูด ศูนย์สุขภาพชุมชน หมอยา + หมอพูด ดูแลทั้งครอบครัว

  22. หน่วยบริการปฐมภูมิ • เป็นหน่วยบริการผสมผสาน (รักษา+ส่งเสริม+ป้องกัน +ฟื้นฟู) • มิใช่หน่วย Extended OPD เน้นการสร้างเสริมสุขภาพควบคู่กับการรักษา • มีความเป็นกันเอง รู้จักประจำ ทีมประจำ ต่อเนื่อง

  23. หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ • เป็นหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชน อย่างต่อเนื่อง- รู้สภาวะสุขภาพ หามาตรการสร้างเสริมสุขภาพ • เป็นที่ปรึกษาของประชาชนในด้านการดูแลสุขภาพ • ให้บริการพื้นฐานที่จำเป็นแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุ และบริการทั้งที่เป็นการรักษาพยาบาล การส่งเสริมฯ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ • ติดตาม ประสาน การให้บริการประเภทต่างๆ เพื่อให้เกิดบริการที่บูรณาการ ต่อเนื่อง

  24. นิยามของ ศสช. • เป็นหน่วยรับผิดชอบสุขภาพของประชาชนแบบ ผสมผสาน เป็นองค์รวม และต่อเนื่อง เน้นที่ผลลัพธ์ของงาน คือ ใกล้บ้าน ใกล้ใจ และสร้างสุขภาพ • ให้ ทุก สอ.ทำหน้าที่เป็น ศสช. ในการดูแลประชากร อาจน้อยกว่า 10,000 คน แต่ไม่ควรมากกว่า • แต่ในการจัดสรรทรัพยากร ให้คำนึงถึงการกระจายของทรัพยากร(คน เงิน ของ) โดยใช้ประชากร 10,000 คนเป็นฐาน

  25. มาตรฐานของผลลัพธ์ หรือผลการดำเนินงาน • 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายจะได้รับบริการครอบคลุม • 2.โรคติดต่อจะถูกรายงานครอบถ้วนตรงเวลาและค้นพบเร็วขึ้น • 3. ประชนและบุคลากรใน PCU จะมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน (Bonding) • 4. ประชาชนเจ็บไข้ได้ป่วย แล้วน่าจะมาใช้บริการที่ PCU มากขึ้นเรื่อย ๆ • 5. เมื่อเปิดโอกาสให้เลือกลงทะเบียน ประชาชนน่าจะเลือกลงทะเบียนที่ • PCU ของตนเอง • 6. เมื่อสอบถามความพึงพอใจ น่าจะพึงพอใจใน PCU ของตนเองและ • ประชาชนยอมรับบุคลากรให้เป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพประจำครอบครัว

  26. 3.มาตรฐานของผลลัพธ์ หรือผลการดำเนินงาน 7.ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพตนเองและมีความ ร่วมมือและประสานงานกับบุคลากรใน PCU อย่างดียิ่ง 8.ประชาชนมีสถานะสุขภาพดีขึ้น ไม่ป่วยและตายด้วยโรคที่ ป้องกันได้ 9. ถ้าการดำเนินงาน PCU ของทุกจุดดำเนินการได้อย่างดี ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ PCU จะมาปรึกษาเจ้าหน้าที่ ที่ PCU ของตนเองก่อนทุกครั้ง จะมีผลทำให้ผู้ป่วยที่ OPD ของ รพศ. และ รพช. ในปัจจุบันลดจำนวนน้อยลงหรือ อาจจะไม่มีเลย นพ.สำเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.

  27. กลยุทธ์ในการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนจังหวัดนครราชสีมา • Research • Re-Train Re-Think • Re-Design Re-Tool • Resource management • Reassurance

  28. บริการเวชปฏิบัติครอบครัวด่านแรก ผสมผสาน เป็นองค์รวม ต่อเนื่อง Empathic Relationship / Care Coordinator ความรู้ ชีวะการแพทย์ จิตวิทยาสังคม Whole Person Medicine ระบบงาน การขึ้นทะเบียน ปชก. การจัดบริการตั้งรับ / เชิงรุก การจัดบริการต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมของชุมชน ระบบการเงิน / ข้อมูลข่าวสาร ทีมงาน ทีมเดียวกัน เจ้าของครอบครัว เจ้าของคนไข้

  29. หลักสูตรพื้นฐาน (Basic Program) • PCU in UC • ความทุกข์ในระบบสาธารณสุข • ความจริงในชุมชน • ระบบบริการปฐมภูมิ • ศึกษาดูงานจาก Role Model • จากบริการสู่ชุมชน • จากชุมชนสู่บริการ Meeting of 2 Experts Empathic Relationship Sustained partnership

  30. หลักสูตรต่อยอด (Advance Program) • ผู้บริหารและผู้นิเทศ (2 วัน) การจัดองค์กร การวางแผนงาน การบริหารจัดการ คน เงิน ของ ข้อมูลข่าวสาร การนิเทศงาน และการประเมิน • ผู้ปฏิบัติงาน (4วัน) ทักษะทางมานุษยวิทยา ระบาดวิทยา การดูแลด้านจิตสังคม และการสร้างเสริมสุขภาพ • ผู้ปฏิบัติงาน (9 สัปดาห์) การรักษาพยาบาลโรคที่พบบ่อย

  31. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 1 PCU 4 แบบ แบบ 1 ตั้งในโรงพยาบาล (คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัว = PCU) แบบ 2 ตั้งในเขตเมือง (ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล,ศูนย์แพทย์ชุมชน = ศพช. = PCU) แบบ 3 ตั้งในเขตชนบท (พัฒนาจากสถานีอนามัยเป็น PCU) แบบ 4 ที่ทุรกันดารห่างไกล = Mobile PCU นพ.สำเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.

  32. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 2 Main PCU Sub PCU Sub PCU นพ.สำเริง แหยงกระโทก นพ.สสจ.นม.

  33. PCU 4 มุมมอง มุมมองที่ 3 PCU ที่มีแพทย์ (อย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์) PCU ที่มีพยาบาลประจำ PCU ที่มีเจ้าหน้าที่ สอ.

  34. มุมมองที่ 4 ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 1 • มีเจ้าของครอบครัว • มี Family Folder 50 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2 วัน ( Basic Program )

  35. ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 2 • มีเจ้าของครอบครัว เจ้าของคนไข้ • มี Family Folder 100 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2+4 วัน ( Basic Program + ชุมชน + Counseling )

  36. ศูนย์สุขภาพชุมชนระดับ 3 • มี Family Folder 100 % • เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรม 2+4 วัน + 9 สัปดาห์ • ผู้ป่วยในเขตมารับบริการ > 70 %

  37. การพัฒนา ศสช.ใน 5 ปี ทีมแกนนำ = แพทย์ + ทีม รพ. +สสอ. ให้การสนับสนุน • ศสช.ระดับ 1 • เจ้าหน้าที่ สอ.เดิม • FF + อบรม • ศสช.ระดับ 2 • เจ้าหน้าที่ สอ.เดิม • พยาบาลวิชาชีพ • แพทย์เป็นที่ปรึกษา • FF + อบรม • ศสช.ระดับ 3 • เจ้าหน้าที่ สอ.เดิม • พยาบาลวิชาชีพ • แพทย์ประจำ • FF + อบรม

  38. การพัฒนา ศสช.ใน 5 ปี ทีมแกนนำ = แพทย์+ทีม รพ.+สสอ. ให้การสนับสนุน ศสช.ระดับ 1 ศสช.ระดับ 2 ศสช.ระดับ 3 ดูแลปัญหาสุขภาพที่พบบ่อย บริการส่งเสริม ป้องกัน สนับสนุนการพึ่งตนเองของ ปชช. รักษาโรคเรื้อรังที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน รักษาโรคเรื้อรัง และอื่นๆที่เพิ่มขึ้น ดูแลรักษาตามขอบเขต ความสามารถของแพทย์ ในระยะ 5 ปีนี้ เน้นการพัฒนา ศสช. ทุกแห่ง ขึ้นมาเป็นระดับ 2 และบางส่วนเป็นระดับ 3

  39. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรใน ศสช. • บทบาทหลักในการให้บริการผสมผสานยังเป็นของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยเดิม หัวหน้า สอ.ยังเป็นหัวหน้าเหมือนเดิม • บุคลากรจาก รพ. ที่ลงไปปฏิบัติงานเต็มเวลาให้ทำหน้าที่เสมือนเป็นทีมงานร่วมกับเจ้าหน้าที่เดิม มีการจัดแบ่งงานกันให้ชัดเจน • บุคลากรจาก รพ.ที่ลงไปช่วยงานบางเวลา ควรเน้นบทบาทการไปเสริมงานจากเดิม ไม่ไปทำงานทับซ้อนกับเจ้าหน้าที่เดิม หรือไปทำแทน และไม่นับเป็นบุคลากรประจำ

  40. การกระจายกำลังคน (ร้อยละของ ศสช.) * ศสช.ใน รพ.+เขตเมือง 47 แห่ง (18%)

  41. การกระจายกำลังคน (ร้อยละของ ศสช.)

  42. พันธกิจ ศูนย์สุขภาพชุมชน (Primary Care Unit) งานเวชปฏิบัติครอบครัว • ดูแลเริ่มแรกทุกเรื่อง • ดูแลต่อเนื่องถึงบ้าน • บริการประทับใจทุกวันวาร • บริการผสมผสานทั้งครอบครัว

  43. บทบาทแพทย์ / พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว • 1. ตรวจรักษาผู้ป่วยทั้ง Acute Care, Emergency Care และ Chronic Care ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ทุกระบบอวัยวะ โดยอาศัยความรู้ด้าน Whole Person Medicine • 2. ให้บริการโดยผสมผสานทักษะการดูแลด้านจิต สังคม ควบคู่ไปกับด้านชีวะการแพทย์ การบริการไม่เน้นการจ่ายยาเป็นสำคัญ แต่มุ่งเน้นการให้คำปรึกษา และการค้นหาศักยภาพ ของผู้ป่วยเพื่อสร้าง Self Care

  44. บทบาทแพทย์ / พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว • 3. จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และค้นหาคัดกรอง ผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น อย่างมีมาตรฐาน • 4. ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาและความเสี่ยง • 5.ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่ส่งต่อมานอนพักรักษาตัว ในโรงพยาบาลเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับแพทย ์เฉพาะทาง • 6. จัดทำระบบข้อมูลผู้ป่วย

  45. บทบาทแพทย์ / พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว • 7. จัดกิจกรรม Self Help Groupกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มฟื้นฟูสภาพ • 8. จัดทำ Clinical Practice Guidelinesและพัฒนาระบบรับรองคุณภาพบริการ • 9. ดำเนินงานวิจัยและพัฒนา • 10. สนับสนุนการพัฒนาสถานีอนามัย

  46. บทบาทแพทย์ / พยาบาลเวชปฏิบัติครอบครัว รักษาไข้ (Case Approach) เข้าใจความเป็นคน (Whole Person Approach) ดูอิทธิพลครอบครัว (Family Oriented) มองรอบตัวรอบบ้าน (Family as a Unit) รวมทั้งบริการสาธารณสุข (Health Care System) สร้างงานเชิงรุกสู่ชุมชน (Community Oriented Primary Care)

  47. รพ. รู้จักกันเฉพาะในห้องตรวจ รักษาโรค ประชาชนมีส่วนร่วมน้อย ไม่มีขอบเขตรับผิดชอบ Ward คือ หอผู้ป่วย โรงช่อมสุขภาพ ศสช. รู้จักกันทั้งครอบครัว รักษาคน ประชาชนมีส่วนร่วมมาก มีขอบเขตรับผิดชอบชัดเจน บ้านคือหอผู้ป่วย โรงสร้างสุขภาพ ความแตกต่างระหว่าง OPD รพ. และ ศสช.

  48. 1. การสำรวจครอบครัวและชุมชน • 1. สร้างสัมพันธภาพ • 2. รู้จักและเข้าใจสภาพวิถีชีวิต • 3. ประเมินสภาพปัญหาและความต้องการในการบริการ ด้อยโอกาส ปกติ เสี่ยง ป่วย /พิการ ส่งเสริม ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ดูแลทางสังคม

  49. การจัดเตรียมเอกสารและข้อมูลเพื่อช่วยให้เกิดการดูแลอย่าง ผสมผสาน เป็นองค์รวม ต่อเนื่อง การค้นหาความคาดหวังของผู้มารับบริการ การประเมินปัญหาด้าน Bio-Psycho-Social การคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง การให้คำแนะนำเบื้องต้น 2. การลงทะเบียน / การคัดกรอง

More Related