1 / 20

การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ. วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 นิพา ศรีช้าง. ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่. 1. ประชากร จำนวน และลักษณะของกลุ่มอายุต่างๆ 2. ข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ 3. วัฒนธรรม วิถีของท้องถิ่น กิจกรรมประจำปีต่างๆ

Télécharger la présentation

การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ วันที่ 27 กรกฎาคม 2554 นิพา ศรีช้าง

  2. ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ 1. ประชากร จำนวน และลักษณะของกลุ่มอายุต่างๆ 2. ข้อมูลด้านสุขภาพของประชากรในพื้นที่ 3. วัฒนธรรม วิถีของท้องถิ่น กิจกรรมประจำปีต่างๆ 4. สิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่ 5. หน่วยงานและองค์กรที่อยู่ในพื้นที่

  3. เปรียบเทียบความชุกของปัจจัยเสี่ยงจากการสำรวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทยครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4

  4. เปรียบเทียบความชุกของปัจจัยเสี่ยงและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป จำแนกตามภูมิภาค จากการสำรวจปี 2552

  5. เปรียบเทียบร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยรักษาและควบคุมได้ จากการสำรวจปี 2547 และ ปี 2552 25472552 21.4% 22.0% รู้ตัวว่าเป็นโรค 28.6% 49.7% 8.6% 20.9% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4

  6. เปรียบเทียบร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ จาการสำรวจปี 2547 และ 2552 25472552 6.7% 6.9% 43.4% รู้ตัวว่าเป็นโรค 68.8% 12.2% 28.5% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4

  7. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ ทั้งประเทศภาคกลาง 24.5% 21.4% รู้ตัวว่าเป็นโรค 49.7% 48.4% 20.9% 21.0% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4

  8. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัย รักษาและควบคุมได้ ทั้งประเทศภาคกลาง 6.9% 7.6% 68.8% รู้ตัวว่าเป็นโรค 61.1% 28.5% 22.6% รักษาและควบคุมได้ การสำรวจ NHESครั้งที่ 4

  9. การดำเนินงานประกอบด้วยขั้นตอนการดำเนินงานประกอบด้วยขั้นตอน • การวิเคราะห์ความต้องการ และปัญหาในพื้นที่ • กำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายร่วมกันในการดำเนินงาน • วางแผน กำหนดแนวทางร่วมกัน ในการนำไปสู่ การบรรลุเป้าหมายของการดำเนินงาน รวมทั้งการวางแผนประเมินผล • ระบุ เลือกทรัพยากร ที่ใช้ในการดำเนินงาน • กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติ ระยะเวลาในการดำเนินการ • ลงมือปฏิบัติตามแผน พร้อมทั้งการติดตาม ประเมินผลของการดำเนินงาน • สรุปผลการดำเนินงาน และสะท้อนข้อมูลย้อนกลับไปยังเครือข่าย

  10. ถอดบทเรียน • การดำเนินงาน ประสบการณ์ • บอกปัจจัยความสำเร็จ ปัจจัยที่เอื้อต่อการดำเนินงานลดเสี่ยง/ปัญหา • แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง/ความยั่งยืนของการดำเนินงานลดเสี่ยง หรือปัญหาในพื้นที่

  11. การประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและสังกัดกรุงเทพมหานคร ปี 2553 ความดันโลหิตสูงเบาหวาน 29,262 ราย 7,012 ราย FBS 70-130 mg/dl = 39.0% BP<140/90 mmHg =62.2% รักษาและควบคุมได้ HbA1c =30.3%

  12. ยุทธศาสตร์อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนยุทธศาสตร์อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทันสถานการณ์”

  13. คุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน • มีคณะกรรมการควบคุมโรคระดับอำเภอ ที่มาจากทั้ง ๓ ภาคส่วน ได้แก่ - ภาครัฐ (รพ. / สสอ. นายอำเภอ) - ภาคท้องถิ่น (อปท. ภายในอำเภอ) - ภาคประชาชน (อสม. / ผู้นำชุมชน 2. มีระบบข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาที่ดี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3. มีเป้าหมายและแผนงานควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพทั้งภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน โดยสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ รวมถึง แผนการ ติดตามผลการปฏิบัติงาน

  14. คุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 4. มีการระดมทรัพยากร จากภาคส่วนต่างๆ เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กองทุนสุขภาพชุมชน ภาคเอกชน อื่นๆ 5. มีผลสำเร็จ ของการดำเนินงานควบคุมโรค สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ได้แก่ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะอ้วน อัมพฤกษ์ อัมพาต หัวใจขาดเลือด ฯลฯ

  15. การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เป้าหมายหลัก • ส่งเสริมสุขภาพ ลดจำนวนกลุ่มเสี่ยง • ลดจำนวนผู้เป็นโรครายใหม่ โดยมุ่งเน้นจัดการกลุ่มเสี่ยง • ลดจำนวนผู้มีภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ตา ไต เท้า ไตวาย หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ) • ลดจำนวนผู้เสียชีวิต

  16. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อแนวทางการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ๑. การดำเนินการในระดับประชากร (Population approach) ได้แก่ - ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค องค์กรไร้พุง หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - สร้างมาตรการทางสังคม นโยบายสาธารณะ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ๒. การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยงสูง (High risk approach) ได้แก่ - การสนับสนุนทักษะในการปรับเปลี่ยนวิถีการดำรงชีวิต - บริการข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ

  17. ตัวอย่าง มาตรการและแนวทางการจัดกิจกรรมในชุมชน • มาตรการทางสังคม เช่น ห้ามดื่มเหล้าในงานบุญ “งานบวช งานศพปลอดเหล้า” งดถวายบุหรี่แด่พระสงฆ์ • การจัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสารความเสี่ยงในชุมชน เสียงตามสาย หรือหอกระจายข่าวในชุมชน • การจัดสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่ออกกำลังกาย ไม่ขายเครื่องดื่ม น้ำอัดลม ขนมหวานและกรุบกรอบในโรงเรียน

  18. ขอบคุณค่ะ

  19. ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม (Metabolic syndrome) มีภาวะอ้วนลงพุง (รอบเอว 90 ในชาย 80 ในหญิง) ความดันโลหิต 130/85 mmHg หรือ เป็นความดันโลหิตสูง Impair Fasting Glucose (FPG  100 mg%) หรือเป็นเบาหวาน Triglyceride  150 mg/dl หรือกินยาลดไขมัน HDL-C  40 mg/dl ในเพศชาย และ  50 mg/dl ในเพศหญิง

  20. ร้อยละของผู้ประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ที่กินผักและผลไม้เพียงพอตามข้อแนะนำ จำแนกตามเพศและภาค

More Related