html5-img
1 / 34

หลักการใช้เครื่องมือ

หลักการใช้เครื่องมือ. ในกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุก. ความคิดเชิงรุกกับการทำงาน และการบริหารอย่างมีระบบ. สิ่งสำคัญที่สุดของการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงที่สุดก็ คือ การทำงานที่ได้ผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ หากผู้ปฏิบัติได้ปฏิบัติตาม

fia
Télécharger la présentation

หลักการใช้เครื่องมือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการใช้เครื่องมือ ในกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุก

  2. ความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบ สิ่งสำคัญที่สุดของการทำงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงที่สุดก็ คือ การทำงานที่ได้ผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ หากผู้ปฏิบัติได้ปฏิบัติตาม เป้าหมายอย่างดีแล้วแต่ไม่เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลเต็มที่ ผู้ปฏิบัติ ต้องทบทวนดูเป้าหมายของการทำงาน ว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ กระบวนการในการกำหนดเป้าหมายจึงสำคัญยิ่ง ก็ด้วยว่าเป้าหมายนั้นจะ เป็นตัวกำหนดความเป็นไปของผลของงานโดยทั้งสิ้น การกำหนดเป้าหมาย จึงเป็นเรื่องที่สำคัญกว่าสิ่งใดทั้งหมด

  3. ความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบ การกำหนดเป้าหมายในปัจจุบันนั้น มีกระบวนการต่างๆ เข้ามาช่วยในการกำหนดเป้าหมายมากมาย แต่ที่ยอมรับกันมากและกำลังเป็นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบัน นั่นก็คือการวางยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์ Strategy) ซึ่งสามารถกำหนดได้ในทุกระดับของการทำงานพร้อมทั้งอาจมีตัววัดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นตัวช่วยในการวัดผลการทำงาน เช่น BSC,KPIฯลฯ

  4. ความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบความคิดเชิงรุกกับการทำงานและการบริหารอย่างมีระบบ การทำงานหรือความคิดเชิงรุกจึงควรที่จะต้องเริ่มต้นจากการวางยุทธศาสตร์ (ระดับองค์กร,บุคคล) ที่ดีก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งเราอาจรวบรวมเป็นแนวทางต่างๆได้ดังนี้ • กำหนดยุทธศาสตร์ • SWOT • กำหนดวิสัยทัศน์ • พันธกิจ • เป้าหมาย • กลยุทธ์ • กำหนดตัววัด • BSC • KPI • กำหนดแนวทางการทำงาน

  5. หลักการบูรณาการเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการองค์กรหลักการบูรณาการเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการองค์กร การบูรณาการ (Integrate)คือการผสมผสานกัน เพื่อเป้าหมายอันเดียวกัน ทั้งทางด้านความคิด มุมมอง การปฏิบัติ และวิธีการทำงาน การบูรณาการ เป็นแนวทางที่จะช่วยให้ความต่างทั้งหลาย ความขัดแย้งทั้งหลายกลายเป็น แนวทางเดียวกัน การบูรณาการเพื่อการบริหารและการพัฒนาองค์กรจึงต้อง มีการจัดการที่ดี มีแนวทางที่เหมาะสม ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชน์สูงสุดตาม เป้าหมายองค์กร

  6. หลักการบูรณาการเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการองค์กรหลักการบูรณาการเพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการองค์กร • วิธีคิดในเชิงบูรณาการ • การแยกส่วนต่างๆ ออกเป็นมิติต่างๆ • การใช้เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ความคิด • Mind Map • Six Thinking Hats • การผสมผสานความคิด • กำหนดเป้าหมายเพื่อเป็นกรอบความคิด • หาแนวทางที่ยอดเยี่ยม

  7. นวัตกรรม (INNOVATION) นวัตกรรมไม่ใช่สิ่งใดก็ตามที่ออกมาจากห้องทดลองเท่านั้น แต่นวัตกรรมมักจะถูกมองว่าเป็นผลผลิตที่มาจากห้องทดลองเสมอ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมนั้น เป็นอะไรก็ตามที่ถูกคิดถูกประดิษฐ์ขึ้นมาจากมันสมองของมนุษย์ ไม่ว่าจะตั้งใจหรือบังเอิญก็เป็นนวัตกรรมทั้งสิ้น หากสิ่งนั้น หรือเรื่องนั้นมีคุณค่าพอ นวัตกรรมเป็นความต่างที่ทรงคุณค่า นวัตกรรมจึงเป็นอะไรที่ต่างจากเดิม และมีคุณค่า นวัตกรรมจึงเป็นหนทางใหม่ที่สามารถสร้างคุณค่าได้ นวัตกรรมอาจเป็นได้ตั้งแต่สิ่งของจนถึงกระบวนการอะไรสักอย่าง หรือมากกว่านั้นก็อาจหมายถึงรูปแบบหรือวิธีการก็ได้ เช่น การสร้างนวัตกรรมด้วยการผลิตสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ออกมา กระบวนการการผลิตใหม่ ๆ หรือวิธีการส่งสินค้า เป็นต้น

  8. นวัตกรรม (INNOVATION) สมรรถภาพขององค์กร การที่จะสร้างนวัตกรรมขององค์กรให้ได้นั้น ต้องคำนึงถึงสมรรถภาพขององค์กรเป็นหลัก ก็ด้วยว่าองค์กรใดก็ตามล้วนต้องมีสมรรถภาพเป็นแกนกลางในการทำงาน และในการกำหนดทิศทางขององค์กรนั้น สมรรถภาพจะเป็นกรอบแนวคิดของการสร้างนวัตกรรม ให้อยู่กับความเป็นจริงตลอดเวลา การสร้างนวัตกรรมจึงต้องอิงแอบอยู่กับปัจจัยต่างๆ ของสมรรถภาพขององค์กรอยู่เสมอ

  9. นวัตกรรม (INNOVATION) สมรรถภาพ 5 ปัจจัย สมรรถภาพหลักขององค์กรนั้นมักจะประกอบไปด้วยปัจจัยต่างๆ ดังนี้ • กลยุทธ์และลูกค้า • การวัดผลการดำเนินการ • กระบวนการทำงาน • พนักงาน • เทคโนโลยี

  10. นวัตกรรม (INNOVATION) นวัตกรรมกับการเสริมสมรรถภาพขององค์กร ระดับของการสร้างนวัตกรรมนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. นวัตกรรมเป็นกิจกรรมในการรวบรวมความคิด 2. นวัตกรรมเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงาน 3. นวัตกรรมเป็นสมรรถภาพหลักขององค์กร โดยหากระดับของนวัตกรรมมีสูงมากเท่าใด องค์กรก็จะสามารถสร้าง นวัตกรรมและคุณค่าเพิ่มได้เท่านั้น

  11. นวัตกรรม (INNOVATION) • 7 คำถามเพื่อนำไปสู่การสร้างนวัตกรรม • พนักงานผู้สร้างนวัตกรรมจะสามารถช่วยหาจุดที่ต้องการทำนวัตกรรมได้ • โดยตั้งคำถามที่เหมาะสม ตามชุดคำถาม (7R) ที่จะสามารถช่วยให้เกิด • ความคิดได้ง่ายขึ้น ดังนี้ • Rethink (คิดใหม่ทำใหม่) • Reconfigure (ทบทวนการทำงานใหม่) • Reassign (มอบหมายใหม่) • Resequence (เรียงลำดับใหม่) • Relocate (สถานที่ใหม่) • Retool (เครื่องมือใหม่) • Reduce (ลดทุกอย่าง)

  12. นวัตกรรม (INNOVATION) กระบวนการสร้างนวัตกรรม • กำหนดวิธีการ • กำหนดกรอบแนวคิด หรือเรื่องที่ต้องการแก้ไข • กำหนดแผน • จัดตั้งทีมงาน • ผลตอบแทน • วิธีการนำไปปฏิบัติ

  13. นวัตกรรม (INNOVATION) • รวบรวมความคิด • ดำเนินการตามแผนงาน • สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการประสานงานและร่วมมือกัน • ระดมสมอง ระดมความคิด (Six Thinking Hats, Mind Map) • คัดเลือกความคิด • กลั่นกรองความคิดที่หลากหลาย • ค้นหาความคิดที่ยอดเยี่ยม • ใช้เครื่องช่วยในการวิเคราะห์สนามพลัง

  14. นวัตกรรม (INNOVATION) • นำไปปฏิบัติ • จัดตั้งทีมงานเพื่อนำแนวความคิดมาขยายผลในทางปฏิบัติ • มีคณะกรรมการติดตามประเมินผลในการนำไปปฏิบัติ

  15. นวัตกรรม (INNOVATION) การเชื่อมโยงกระบวนการต่างๆ ด้วยเทคโนโลยี ในการสร้างนวัตกรรมในปัจจุบันนั้นขาดไม่ได้ที่จะต้องนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาเชื่อมโยง ผสมผสานด้วยเสมอ ทั้งนี้ก็เพื่อหวังผลว่าการเชื่อมโยงและใช้เทคโนโลยีเป็นตัวเชื่อมโยงนั้น จะช่วยให้องค์กรสามารถลดต้นทุนได้ทั้งในเรื่องการประสานงาน ลดวัตถุดิบ ลดเวลา และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานได้อีกด้วย

  16. นวัตกรรม (INNOVATION) การกำหนดตัววัดนวัตกรรม วัตถุประสงค์ในการกำหนดตัววัด • เพื่อสื่อสารเป้าหมายของการดำเนินการและรายงานความสำเร็จ • เพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล • เพื่อเป็นตัวเปรียบเทียบผลงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ • เพื่อกำหนดเกณฑ์ให้ทราบว่า เมื่อใดที่ต้องผลักดันให้เกิดการดำเนินการด้านนวัตกรรม • เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย มาตรฐาน และความเสี่ยงต่างๆ • เพื่อให้การดำเนินการโครงการต่างๆ บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด • เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจและมุ่งมั่นร่วมกันถึงเป้าหมาย

  17. นวัตกรรม (INNOVATION) มุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์นั้นก็เพื่อที่จะง่ายต่อการผลักดันและถือเป็นเป้าหมายรวมโดยไม่สนใจรายละเอียด เช่น กระบวนการ วัตถุดิบ ฯลฯ กำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย การกำหนดเป้าหมายต้องท้าทายมากๆ เพื่อที่จะผลักดันให้เกิดการคิดนอกกรอบและเกิดความคิดที่จะสร้างนวัตกรรมใหม่ วัดในสิ่งที่เหมาะสม ต้องเลือกใช้เครื่องมือที่จะใช้วัดให้เหมาะสม และง่ายต่อการทำความเข้าใจ เช่น BSC (Balance Score Cards), Cost of Quality, KPIเป็นต้น

  18. หลักการใช้เครื่องมือในกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุกหลักการใช้เครื่องมือในกระบวนการแก้ปัญหาเชิงรุก

  19. การตัดสินใจในเรื่องต่างๆของบุคลากรนั้น มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกโอกาส แต่การที่จะตัดสินใจได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับข้อมูลที่มีอยู่ว่าจะพร้อมเพรียงมากน้อยเท่าใด แต่การตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหานั้นต่างออกไป ก่อนที่จะตัดสินใจแก้ปัญหาได้นั้นจะต้องผ่านการวิเคราะห์ทั้งข้อมูล วิธีการ กระบวนการ และข้อดีข้อเสียให้ครบถ้วนเสียก่อน จึงตัดสินใจแก้ปัญหา Overviews

  20. การวิเคราะห์เพื่อหาที่มาของปัญหา ถึงสาเหตุแห่งปัญหาเพื่อจะพบ • หนทางในการแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องทำให้ได้ก่อนการ • ตัดสินใจแก้ปัญหา • การแก้ปัญหาโดยปราศจากการวิเคราะห์ที่ดีก่อนนั้น เปรียบเสมือน • การเดินทางบนปากเหวในความมืดมิดที่เต็มไปด้วยความเสี่ยง • บนความไม่แน่นอน • การตัดสินใจที่ดีนั้น จึงเป็นสิ่งยืนยันที่จริงแท้ว่า บุคลากรนั้น เป็น • หรือไม่ แต่ที่สำคัญที่สุดก็คือการตัดสินใจที่ถูกต้องนั้นย่อมสามารถ • แก้ปัญหาได้ดี นั่นคือการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ Overviews

  21. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจนั้นไม่ได้มีความสำคัญเพียงแค่การมองดูที่ปัญหาแล้วตัดสินใจเท่านั้น และก็ไม่ได้สำคัญในระดับองค์กรเท่านั้น แต่ในระดับบุคคลเอง ก็มีความสำคัญไม่ได้ยิ่งหย่อนกว่ากันเท่าใดและโดยเฉพาะพนักงานระดับสูงการตัดสินใจในเรื่องต่างๆนั้นมีมากมาย และล้วนแล้วแต่สำคัญและต้องการทั้งความถูกต้องและรวดเร็วทั้งสิ้น • การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ จึงจำเป็นที่จะต้องมีวิธีการ กระบวนการที่ดี ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ทั้งในระดับบุคคล และระดับองค์กร นั้นมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง รวดเร็ว ทุกครั้ง

  22. การผสมผสานวิธีการต่างๆ เข้าด้วยกัน การใช้เครื่องมือเพื่อช่วยในการวิเคราะห์จึงกลายเป็นเรื่องจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้ • การตัดสินใจและการแก้ปัญหา หากเป็นเรื่องเล็กน้อย ถ้าผิดพลาดก็คงไม่กระทบเท่าใด แต่หากเป็นเรื่องใหญ่ ทั้งผลกระทบและทั้งความเสียหายก็อาจมากจนถึงขนาดรับไม่ไหวเลยทีเดียว • การใช้การวิเคราะห์เพื่อช่วยในการแก้ปัญหานั้น หากฝึกทำให้เป็นนิสัย เมื่อชำนาญแล้ว ต่อไปหากจะต้องนำมาใช้ก็จะง่าย สะดวก และรวดเร็วมากขึ้นเรื่อยๆ

  23. ลำดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ปัญหาลำดับขั้นตอนในการวิเคราะห์ปัญหา • รวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้น • ศึกษาผลกระทบต่างๆจากปัญหาที่เกิด • กำหนดประเด็นปัญหา • แยกปัญหาหลักปัญหารอง • ค้นหาวิธีแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ • ผลกระทบจากการแก้ปัญหา และการตัดสินใจ • วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา • เลือกวิธีที่จะใช้ในการแก้ปัญหา(Force Field Analysis) • กำหนดช่วงเวลาในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การวิเคราะห์การแก้ปัญหา

  24. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหาเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหา • aอริยสัจสี่ • aแผนภูมิก้างปลา • aPPMATRIX • aMind Mapping การวิเคราะห์การแก้ปัญหา

  25. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหาเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหา • อริยสัจสี่ • ทุกข์ •  สมุทัย •  นิโรธ •  มรรค

  26. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหาเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหา แผนภูมิก้างปลา

  27. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหาเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหา PP MATRIX

  28. เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหาเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการแก้ปัญหา Mind Mapping

  29. 1.ทบทวนเป้าหมาย 1.1 กิจกรรมที่ทำอยู่นั้นใช่กิจกรรมที่ควรทำหรือไม่ 1.2 ถ้าแก้ปัญหาแล้วจะทำให้บรรลุเป้าหมายหรือไม่ 2.ทบทวนคู่มือ / Procedure 2.1 ได้ปฏิบัติตามคู่มือแล้ว และถูกต้องหรือไม่ 2.2 ถ้าปฏิบัติตามคู่มือ / Procedureแล้ว 2.2.1ตามขั้นตอนทุกอย่างแล้วยังมีปัญหา ก็ต้องกลับไป ทบทวนคู่มือ / Procedure ใหม่ 2.2.2 ถ้ายังไม่ครบถ้วนก็ให้พิจารณาว่าควรจะทำตามคู่มือ ต่อหรือไม่ ลำดับกิจกรรมการแก้ปัญหา

  30. 3.ทบทวนผู้ดำเนินการหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ว่า 3.1 มีส่วนทำให้เกิดปัญหาหรือไม่ 3.2 ขัดขวางการดำเนินการและทำให้เกิดปัญหา หรือไม่ 4. แก้ปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสมและใช้เครื่องมือ ช่วยที่เหมาะสม ลำดับกิจกรรมการแก้ปัญหา

  31. ทบทวนบทบาท 1 ตัดสินใจด้วยตนเองได้ทั้งหมด 2 ต้องปรึกษาก่อนการตัดสินใจ 3 ตัดสินใจไม่ได้ (เกินอำนาจการตัดสินใจ) • กำหนดเป้าหมาย • 1 เป้าหมายหลัก • 2 เป้าหมายรอง • 3 เป้าหมายอ้างอิง 1 2 การตัดสินใจ Decision Making • กำหนดทางเลือก • 1 เร่งด่วน • 2 สำคัญ • 3 รอได้ • ผลกระทบจากการตัดสินใจ • 1 มีความเสียหายหรือไม่ • 2 ใครที่ได้รับความเสียหายจากการตัดสินใจ • 3 รับผิดชอบได้หรือไม่ • 4 รับมืออย่างไร 3 4

  32. กฎของการระดมสมอง • กำหนดเป้าหมายของการระดมสมองให้ชัดเจน • ทุกคนต้องมีส่วนร่วม • กล้าที่จะผสานความคิดให้ทุกๆความคิดเพื่อให้เกิดความคิดใหม่ๆ • กล้าที่จะคิดนอกกรอบและปล่อยให้ทุกคนได้คิดอย่างอิสระ • อย่ามองข้ามความจริงและความถูกต้อง • ละเว้นการตัดสินแต่ละความคิด • อย่ากลัวความคิดที่เหมือนหรือซ้ำกัน • อย่าหยุดเพื่อที่จะโต้แย้ง (ต้องการปริมาณ) • บันทึกทุกความคิด • เปลี่ยนมุมมองบ้าง

  33. การวิเคราะห์ เพื่อคัดเลือกแนวทางการแก้ปัญหา

More Related