1 / 58

นายสมหมาย ภูทองเงิน

นายสมหมาย ภูทองเงิน. ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. รุ่นที่ 1/2547. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กระทรวงมหาดไทย. FIRE. ประโยชน์. การดำรงชีพในชีวิตประจำวัน. - ให้แสงสว่าง. - การบริโภค. - ความบันเทิง. โทษ. การสูญเสียชีวิต. โทษ. การสูญเสียทรัพย์สิน. โทษ. การสูญเสียสิ่งแวดล้อม.

filia
Télécharger la présentation

นายสมหมาย ภูทองเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายสมหมาย ภูทองเงิน ครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รุ่นที่1/2547 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย

  2. FIRE

  3. ประโยชน์ การดำรงชีพในชีวิตประจำวัน - ให้แสงสว่าง - การบริโภค - ความบันเทิง

  4. โทษ การสูญเสียชีวิต

  5. โทษ การสูญเสียทรัพย์สิน

  6. โทษ การสูญเสียสิ่งแวดล้อม

  7. ธรรมชาติของไฟ ไฟเกิดจากการเผาไหม้หรือการสันดาป เป็นปฏิกิริยาเคมี ในการเติมออกซิเจนของสารใดสารหนึ่งซึ่งทำให้เกิดความร้อนอย่างมากมาย เกิดแสงสว่างและมีสภาพการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เกิดขึ้น

  8. แหล่งกำเนิดความร้อน • เปลวไฟ • การเสียดสี • ประกายไฟ • กระแสไฟฟ้า • ไฟฟ้าสถิตย์ • ปฏิกิริยาเคมี

  9. ผลของความร้อน • ทำให้อุณหภูมิของอากาศๆรอบ แหล่งกำเนิดสูงขึ้น • ทำให้วัตถุขยายตัว • ทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะ • ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี • ทำให้เกิดการติดต่อลุกลาม

  10. องค์ประกอบของไฟ ประกอบด้วย เชื้อเพลิง( VAPER ) ความร้อน (HEAT) อากาศ ( OXYGEN )

  11. เชื้อเพลิง(VAPOR) เชื้อเพลิง ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะภาพเช่นใด เช่น วัตถุเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงเหลว หรือก๊าซ ต้องเปลี่ยนสถานะเดิมเป็นไอหรือเป็นก๊าซก่อน ความร้อนที่ทำให้เชื้อเพลิงเปลี่ยนสถานะเป็นไอหรือก๊าซ เข้าผสมกับอากาศอย่างได้สัดส่วน (Explosive Limit) พร้อมที่จะลุกไหม้ได้ เรียกว่า ความร้อนถึงจุดวาบไฟ(FLASH POINT)

  12. ความร้อน(HEAT) เป็นต้นเหตุแห่งการจุดติด ต้องสูงพอที่จะยกระดับอุณหภูมิของสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง ให้ถึงจุดไฟติดหรือจุดชวาลของเชื้อเพลิงนั้น ๆ

  13. อากาศ(OXYGEN >16%) ได้แก่บรรยากาศที่มีออกซิเจนอยู่ในอัตราประมาณร้อยละ 21 ออกซิเจนเป็นก๊าซที่ช่วยให้ไฟติด ถ้าลดต่ำกว่าร้อยละ 16 แล้วไฟจะไหม้ช้าลงหรือดับมอดในที่สุด เพราะฉะนั้น ในบริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไหม้จึงต้อง ไม่เปิดอาคารให้โล่งออก เพื่อรับออกซิเจน ส่วนไนโตรเจนที่มีอยู่ในบรรยากาศในอัตราประมาณร้อยละ 79 นั้น ไม่ได้ช่วยในการเผาไหม้แต่อย่างใดเลย แต่ช่วยในการ ส่งผ่านความร้อน โดยจะพาความร้อนจากส่วนล่างของอาคารขึ้นไปติดต่อ ลุกลามส่วนบนเพดานหรือโครงหลังคา

  14. องค์ประกอบ ของไฟ (ELEMENTS OF FIRE) อุณหภูมิ ที่ทำให้เกิดการ IGNITION ปริมาณ Oxygen >16% HEAT OXYGEN FUEL ของแข็ง / ของเหลว / ก๊าซ / สารเคมี ที่รับความร้อนและเปลี่ยนเป็น ไอ (VAPER) แล้ว

  15. เพลิง ออกซิเจน ความร้อน ไอเชื้อเพลิง แปรสภาพเป็นไอระเหย เชื้อเพลิง ความร้อน

  16. ปฎิกิริยาลูกโซ่ VAPER CHAIN REACTION OXYGEN HEAT

  17. ความหมายของคำว่า อัคคีภัย ภยันตรายที่เกิดจากไฟที่เกินการควบคุมและลุกลามต่อเนื่องสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิต ทรัพย์สินและสภาพแวดล้อม

  18. FLAM (ลุกไหม้) HEAT (ความร้อน) FIRE SMOKE (ควัน) GASES (ก๊าซพิษ)

  19. MODERATE HEAT < 400 ํC HEAT SMOKE EXTREME HEAT >800 ํC C HIGH HEAT 400-800 ํC B A

  20. จุดกำเนิดความร้อนที่ทำให้เกิดอัคคีภัยจุดกำเนิดความร้อนที่ทำให้เกิดอัคคีภัย (SOURCES OF IGNITION) การลุกไหม้ที่มีอันตรายมีอยู่ 2 ประการ คือ 1. การลุกไหม้อย่างฉับพลัน(FLASHOVER) 2. การลุกไหม้และการลุกพรึบขึ้น (SMOLDERING FIRE AND BACKDRAFT)

  21. การติดต่อลุกลาม เกิดได้ 4 วิธี

  22. การติดต่อลุกลาม 1. การนำความร้อน (CONDUCTION)

  23. การติดต่อลุกลาม 2. การพาความร้อน ( CONVECTION )

  24. การติดต่อลุกลาม 3. การส่งรังสีความร้อน (RADIATION)

  25. 4. ลูกไฟที่กระเด็นหรือลอยไปตก

  26. ประเภทของไฟ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามมาตรฐาน NFPA (National Fire Protection Asscociation)

  27. ไฟประเภทที่ 1 A เชื้อเพลิงธรรมดา พลาสติก/นุ่น/กระดาษ/ปอ/ไม้/เสื้อผ้า/หญ้า/ฟาง /และอื่นๆ หรือสิ่งที่สามารถดับด้วยน้ำได้

  28. ไฟประเภทที่ 2 B เชื้อเพลิงเหลว และก๊าซ

  29. ไฟประเภทที่ 3 C อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกระแสไหลอยู่

  30. ไฟประเภทที่ 4 D โลหะและสารเคมีที่เป็นโลหะ

  31. หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 1.การกำจัดสาเหตุ 1.1 ความร้อนต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 1.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน

  32. หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 2.การป้องกันการติดต่อลุกลาม 2.1 วัตถุที่ทำให้เกิดไฟ เช่น ก๊าซ น้ำมัน ฯลฯ วัตถุที่สนับสนุนการลุกไหม้ กระดาษ ผ้า ไม้ ยางรถยนต์ สารเคมี

  33. หลักการป้องกันอัคคีภัยหลักการป้องกันอัคคีภัย 3.การลดความสูญเสีย 3.1 ความรู้ การฝึกอบรม ฯ 3.2 การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ การดับเพลิงเบื้องต้น 3.3 แจ้งเหตุเพลิงไหม้ โทร 199 หรือ 1784 (ฟรี 24 ชั่วโมง) 3.4 ซ้อมอพยพหนีไฟ

  34. วิธีการดับเพลิง 1. การลดอุณหภูมิ 2. การทำให้อับอากาศ การขจัดเชื้อเพลิง 3.

  35. เครื่องดับเพลิง เคมีขั้นต้น หมายถึง - เครื่องดับเพลิงที่ใช้ในการดับเพลิงขั้นต้น - มีขนาดบรรจุ 10 - 20 ปอนด์ สามารถหยิบ ยก หิ้ว เคลื่อนที่ไปยังที่เกิดเหตุได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

  36. การติดตั้ง • ติดตั้งบริเวณที่เห็นเด่นชัด • สามารถนำไปใช้ดับเพลิงได้สะดวก • ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 1.50 เมตร • ติดตั้งอยู่ในอุณหภูมิที่เหมาะสม

  37. ประเภทของเครื่องดับเพลิงประเภทของเครื่องดับเพลิง แบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1. ชนิดน้ำธรรมดา 2. ชนิดเคมีโฟม 3. ชนิดน้ำยาเหลวระเหย HALON, B.C.F. 4. ชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 5. ชนิดผงเคมีแห้ง

  38. น้ำธรรมดา Plain Water • บรรจุด้วย - น้ำประมาณ 2.5 แกลลอน - ใช้แรงดันจากอากาศ ,ก๊าซไนโตรเจน หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ - อัดด้วยความดันที่ 100 - 150 psi

  39. ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ได้ผลดี - หาง่าย - ราคาถูก - มีประสิทธิภาพในการดับเพลิง 30 - 40 ฟุต ข้อเสีย - ห้ามใช้ดับไฟ B , C และ D - สิ่งของที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงเสียหาย

  40. โฟม (Foam) • บรรจุด้วย - โฟมสังเคราะห์ AFFF (Aqueous Film Forming Foam) - ส่วนประกอบที่สำคัญ คือ สารฟลูออไรด์ (Fluoride) และสารทำให้ฟองคงทน (Fluorinated Surfactants Plus Foam Stabilizers)

  41. ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ได้ • ใช้ดับไฟ B ได้ผลดีที่สุด • เก็บได้ 25-30 ปี ข้อเสีย - ห้ามใช้ดับไฟ C และ D - ต้องมีความชำนาญในการใช้งาน

  42. น้ำยาเหลวระเหย (B.C.F.) • บรรจุด้วย - สารประกอบ Halogenated โดยมีสารเข้าไปแทนที่ไฮโดรเจน ในสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน (ฟลูโอลีน F , คลอรีน Cl , โปรมีนBr) - ก๊าซไนโตรเจน ความดัน 40 psi. ที่ 70 Fo • จุดเดือดต่ำ 25 Fo / จุดเยือกแข็ง - 256 Fo • ความหนาแน่นไอสูง หนักกว่าอากาศ 5 เท่า

  43. ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - มีประสิทธิภาพในการดับเพลิงสูง - มีอายุการใช้งานนาน - ระยะการใช้งาน 9 - 15 ฟุต ข้อเสีย • เกิดก๊าซพิษ คือ คลอรีน , ฟอสยีน • คาร์บอนไดออกไซด์ • ทำลายโอโซนในชั้นบรรยายกาศ • - ราคาแพง

  44. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลวก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหลว • บรรจุด้วย - CO2 อัดที่ความดัน 800 - 900 psi - ถังทนความดันได้ไม่ต่ำกว่า 3,375 psi • คุณสมบัติ -เป็นก๊าซเฉื่อย หนักกว่าอากาศ 1.5 เท่า - ก๊าซที่ออกมาเย็นจัด กลายเป็นน้ำแข็งแห้ง 30 %

  45. ข้อดี - ใช้ดับไฟ B และ C - สะอาด ข้อเสีย - ใช้ดับไฟ A ไม่ได้ผลดี - ไม่สามารถดับไฟ D - เกิดภาวะการขาดออกซิเจน - ใช้ในที่โล่งแจ้งไม่ได้ผลดี - 3- 4 ฟุต

  46. ผงเคมีแห้ง (Dry Chemical) • บรรจุด้วย - โซเดียมไบคาร์บอนเนต (ผงสีขาว)1 lbs/1,100 ตร.ฟ.,โปตัสเซียมไบคาร์บอนเนต , แอมโมเนียมฟอสเฟต(สีเหลือง) 1 lbs/1,500 ตร.ฟ.หรือโปตัสเซียมคลอไรด์ (สีฟ้า) 1lbs/1,800ตร.ฟ. - อัดด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ก๊าซไนโตรเจน - สารกันชื้น

  47. ข้อดี - ใช้ดับไฟ A ,B และ C - ใช้งานง่ายสะดวก - ระยะการใช้งาน 5 - 15 ฟุต ข้อเสีย - ไม่สามารถดับไฟ D - ทิ้งคราบสกปรก - อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคโทรนิคเสียหาย - อุปสรรคในการหายใจ และการมองเห็น - ใช้งานได้เพียงครั้งเดียว

  48. ภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิงภาพแสดงเกจ์วัดแรงดันเครื่องดับเพลิง 195 195 0 0 ใช้ได้ ใช้ไม่ได้

  49. ทำอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้ทำอย่างไรเมื่อเกิดเพลิงไหม้ 1. ตั้งสติ 2. ดูประเภทของไฟ B D C A 3.เลือกวิธีดับเพลิง 4.แจ้งหน่วยดับเพลิง 5.ออกจากที่เกิดเหตุ

More Related