1 / 26

การบริหารสัญญา

การบริหารสัญญา. วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือผู้ขายหรือผู้รับจ้างให้ได้รับเงิน ไปใช้ก่อน เป็นทุนในการตระเตรียมพัสดุหรืองานที่จ้างนั้น หลักเกณฑ์ มีความจำเป็นจะต้องจ่าย มีกำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคา ก่อนการทำสัญญาหรือข้อตกลง จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด.

Télécharger la présentation

การบริหารสัญญา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารสัญญา

  2. วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือผู้ขายหรือผู้รับจ้างให้ได้รับเงินไปใช้ก่อน เป็นทุนในการตระเตรียมพัสดุหรืองานที่จ้างนั้น หลักเกณฑ์ มีความจำเป็นจะต้องจ่าย มีกำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคาก่อนการทำสัญญาหรือข้อตกลง จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด การจ่ายเงินล่วงหน้า

  3. ผู้ขายหรือผู้รับจ้างต้องนำหลักประกันการรับเงินล่วงหน้ามาวาง เต็มตามจำนวนเงินล่วงหน้าที่ได้รับไปนั้น ได้แก่ พันธบัตรรัฐบาลไทย หนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ หลักประกันการรับเงินล่วงหน้า

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นหลักประกันผลงานในงวด ๆ นั้น หลักเกณฑ์ ให้หักออกจากเงินค่าจ้างตามจำนวนเปอร์เซ็นต์หรือตามจำนวนเงินที่ตกลงกันไว้ในสัญญาในแต่ละงวดงานนั้น ๆ หลักประกันผลงาน

  5. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นหลักประกันการปฏิบัติงานตามสัญญาของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ตลอดอายุของสัญญา หลักเกณฑ์ ผู้ขายหรือผู้รับจ้างต้องนำหลักประกันสัญญาอย่างหนึ่งอย่างใด (ตามข้อ 141) มาวางเป็นหลักประกัน ในอัตราร้อยละห้า ไม่เกินร้อยละสิบ ของวงเงินในการจัดหาครั้งนั้น หลักประกันสัญญา

  6. ให้คืนหลักประกันสัญญาโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่คู่สัญญาพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 8608 ลงวันที่ 5 ต.ค. 44 ไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืนจากคู่สัญญาก่อน คู่สัญญาไม่มารับภายในกำหนด ให้ปฏิบัติตามข้อ 144 วรรคท้าย พร้อมกับให้มีหนังสือรับรองให้ผู้ค้ำประกันไปด้วยว่า หลักประกันสัญญาดังกล่าว หมดระยะเวลาการค้ำประกันแล้ว การคืนหลักประกันสัญญา

  7. หนังสือที่ นร (กวพ) 1002/ว 42 ลงวันที่ 15 ก.ย. 32 1. ให้หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ 2. ในกรณีที่ปรากฎความชำรุดบกพร่อง ให้ผู้มีหน้าที่ตาม 1. รีบ รายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง แก้ไขซ่อมแซมทันที 3. ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาการประกันความชำรุดบกพร่อง>ภายใน 15 วัน สำหรับหลักประกันอายุไม่เกิน 6 เดือน>ภายใน 30 วัน สำหรับหลักประกันอายุตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่อง วิธีปฏิบัติในการ คืนหลักประกันสัญญา

  8. สัญญาซื้อขาย/สัญญาจ้างทั่วไปสัญญาซื้อขาย/สัญญาจ้างทั่วไป จ่ายตามวงเงินที่กำหนดในสัญญา สัญญาจ้างก่อสร้าง ราคาต่อหน่วย จ่ายตามเนื้องานที่ทำเสร็จจริง ราคาเหมารวม จ่ายตามวงเงินที่กำหนดในสัญญา การจ่ายค่าจ้าง

  9. เป็นสัญญาที่ใช้สำหรับการซื้อขายสิ่งของ ที่ผูกพันผู้จะขายให้ขายสิ่งของนั้น ๆ ตามจำนวนที่ผู้จะซื้อ สั่งซื้อเป็นคราว ๆ ไป โดยมีราคาต่อหน่วยคงที่ ภายในระยะเวลาที่กำหนดในสัญญา จ่ายได้ไม่เกินวงเงินที่กำหนดในสัญญา สัญญาจะซื้อจะขาย ราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ

  10. ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) เป็นค่าเสียหายที่คู่สัญญาได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้า ไม่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย ค่าเสียหาย เป็นสิทธิเรียกร้องของคู่สัญญาเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นแล้ว ต้องพิสูจน์ความเสียหาย ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) ค่าเสียหาย

  11. เมื่อครบกำหนดสัญญา / ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ เมื่อได้รับมอบพัสดุ ให้บอกสงวนสิทธิการเรียกค่าปรับ ที่เกินกำหนดตามสัญญา อัตราค่าปรับ (ตามข้อ 134) ของเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด ราคาของรวมติดตั้ง/ทดลอง ให้ปรับตามราคาของทั้งหมด การปรับ

  12. ระยะเวลาการคิดค่าปรับ ให้นับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง จนถึงวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบสิ่งของหรืองานจ้างถูกต้องครบถ้วน หรือจนถึงวันที่ได้มีการบอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง หักด้วยระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้างใช้ไปในการตรวจรับ ออกจากจำนวนวันที่ต้องถูกปรับด้วย การคิดค่าปรับ

  13. .............กำหนดส่ง 17 ม.ค. 2. ตัวอย่างการคิดค่าปรับ ส่ง 14 ม.ค. 1 รับ 20 ม.ค. 1 แจ้งแก้ไข ส่ง 24 ม.ค. 2 รับ 27 ม.ค. 2 ปรับ ลดปรับ

  14. ข้อ 71(4) “ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งถูกต้องตั้งแต่วันที่ได้นำพัสดุมาส่ง” ......ปรับ ? วัน ครบกำหนด 17 ม.ค. ส่งถูกต้อง 24 ม.ค. ตามสัญญา จะต้องถูกปรับ 18 ม.ค. - 24 ม.ค. = X วัน *กรรมการล่าช้า (เป็นเหตุพิจารณาลดค่าปรับตามระเบียบฯ ข้อ 139) 15 ม.ค. – 20 ม.ค. = Y วัน ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ถูกปรับ X – Y = ? วัน ตัวอย่างการคิดค่าปรับ (ต่อ)

  15. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (136) • หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง • ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

  16. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2)การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2) • อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หัวหน้าส่วนราชการ • ** หลักการแก้ไขฯ ** • การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้

  17. ตามสัญญาจ้าง ข้อ 16 ต้องเป็นงานที่อยู่ในขอบข่ายทั่วไปแห่งวัตถุประสงค์ของสัญญาตามที่ได้ตกลงกันไว้ อัตราค่าจ้างหรือราคาของงานพิเศษ ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในสัญญา หากไม่มีให้ตกลงกันใหม่ งานพิเศษและการแก้ไขงาน

  18. การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา(ข้อ 139) • อำนาจอนุมัติ • หัวหน้าส่วนราชการ • สาเหตุ(1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ(2) เหตุสุดวิสัย(3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด

  19. การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา(ข้อ 139) • วิธีการ • - คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้งตามที่กำหนด จะยก • มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลาใน ภายหลังมิได้ • เว้นแต่ • - กรณีความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ (1)ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น • - พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง

  20. (1) เหตุเกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ • เหตุที่เกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ ต้องเป็นเหตุอุปสรรคที่ทำให้ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานจ้างนั้นได้ และไม่ว่าเหตุนั้นจะเป็นผลมาจากส่วนราชการผู้ว่าจ้างโดยตรง หรือมาจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็ตาม

  21. (2) เหตุสุดวิสัย • ตามมาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • เหตุสุดวิสัย หมายถึง “เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี เป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้น”

  22. (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย • ตามมาตรา 205 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • “ตราบใดการชำระหนี้นั้นยังไม่ได้กระทำลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่” • พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดชอบนั้น จะต้องเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง และต้องเกิดขึ้นก่อนผิดนัดชำระหนี้ด้วย

  23. การบอกเลิก หลัก1)มีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานให้แล้วเสร็จ ภายในเวลาที่กำหนด (137 วรรคหนึ่ง) 2) ไม่ปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลง และค่าปรับจะเกิน 10 % ของวงเงินทั้งสัญญา เว้นแต่ จะยินยอมเสียค่าปรับ ก็ให้ ผ่อนปรนได้เท่าที่จำเป็น (138) การตกลงเลิกสัญญาต่อกันทำได้เฉพาะเป็นประโยชน์ /หรือเพื่อแก้ไข ข้อเสียเปรียบของราชการหากปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป (137 วรรคสอง) การบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสัญญาหรือข้อตกลง

  24. ตามมาตรา 391 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “เมื่อคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้ใช้สิทธิเลิกสัญญาแล้ว คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจำต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งได้กลับคืนสู่ฐานะดั่งที่เป็นอยู่เดิม แต่ทั้งนี้ จะให้เป็นที่เสื่อมเสียแก่สิทธิของบุคคลภายนอกหาได้ไม่” ผลของการเลิกสัญญา

  25. ผู้มีหน้าที่เสนอความเห็นผู้มีหน้าที่เสนอความเห็น • ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง เป็นผู้เสนอความเห็นเพื่อประกอบ การพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ ในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการตามสัญญา • (หนังสือที่ นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว. 13 ธ.ค. 43)

  26. ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลางโทร. 02-298-6300-5e-mail : opm@cgd.go.th

More Related