1 / 27

การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประจำปี 2557

การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประจำปี 2557. พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522. เภสัชกร โรงพยาบาลของรัฐ สาธารณสุขอำเภอ นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสถานีอนามัย

flower
Télécharger la présentation

การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประจำปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประจำปี 2557

  2. พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 • เภสัชกร โรงพยาบาลของรัฐ • สาธารณสุขอำเภอ • นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสถานีอนามัย • เจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุข พยาบาลเทคนิค เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน ตั้งแต่ระดับ4 ขึ้นไป ที่ปฏิบัติงานในสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย

  3. การดำเนินการ ปี 2557 1. การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP และ Primary GMP2. การเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์3. การจัดตั้งทีม Primary GMP ระดับอำเภอ4. การจัดตั้งคลินิก Primary GMP

  4. ปฏิทินการดำเนินการ ปี 2557

  5. การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMP และ Primary GMP

  6. การดำเนินการ ปี 2557 • แบบฟอร์มที่ใช้ในการตรวจ • 1. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหาร -- ตส.1(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิตอาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ GMP เช่น นมUHT น้ำแข็ง ลูกชิ้น แหนม ไอศกรีม ขนมปัง ฯลฯ • 2. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท –- ตส.3(50) • 3. บันทึกการตรวจสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปในภาชนะบรรจุพร้อมจำหน่าย–- ตส.9(50) ใช้ตรวจสถานที่ผลิตอาหารที่กำหนดให้ใช้เกณฑ์ Primary GMP

  7. การดำเนินการ ปี 2557 • ขั้นตอนการดำเนินการของอำเภอ

  8. การดำเนินการ ปี 2557 • หากมีการแก้ไขคะแนนในแบบตรวจ GMP ต้องให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เป็นผู้แก้ไข โดยให้ ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ • การลงรายละเอียดข้อมูลในแบบตรวจ GMP หัวข้อที่ให้คะแนน “ปรับปรุง” ให้ “ถ่ายรูป” แนบประกอบการส่งผลการตรวจให้ สสจ. • หัวข้อที่ต้องปรับปรุงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ให้คำแนะนำผู้ประกอบการ ให้ระบุรายละเอียดในช่อง “หมายเหตุ” ด้วย

  9. การดำเนินการ ปี 2557 • กรณีพบความผิดซึ่งหน้าหรือความผิดที่เป็น Major Defect เช่น • เปิดประตูห้องบรรจุขณะทำการผลิต/ใช้สายยางกรอกน้ำ ให้ถ่ายรูปและทำบันทึกคำให้การประกอบการส่งผลตรวจให้สสจ.ด้วย ** สถานที่ผลิตอาหารที่ผ่านเกณฑ์ GMP ต้องมีคะแนนรวม ในแต่ละหัวข้อไม่ต่ำกว่า 60% และไม่พบ Major Defect

  10. การเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อ ส่งตรวจวิเคราะห์

  11. การดำเนินการ ปี 2557 • การแก้ไขข้อมูลในแบบเก็บตัวอย่างต้องให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามพรบ.อาหาร พ.ศ. 2522 เป็นผู้แก้ไข โดยให้ขีดฆ่า 1 เส้น แล้วเซ็นชื่อกำกับ

  12. นโยบายครัวไทยสู่ครัวโลกนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารไทยเข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP • ยกระดับมาตรฐานสินค้า OTOP • มาตรการเพื่อการกำกับดูแลอาหารนำเข้า/ส่งออกสำหรับรองรับการ • เข้าสู่ประชาคมอาเซียน นโยบายรัฐ การดำเนินงานปี 56 การดำเนินงานปี 57 การสนับสนุนการดำเนินงาน • จัดอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจประเมินตามเกณฑ์ Primary GMP 4 ภาค • อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบูรณาการทีม Primary GMP ภายใต้โครงการ 1 ทีม 1 อำเภอ • จัดอบรมผู้ประกอบการนำเข้าอาหารแปรรูปฯ • เกิดทีม Primary GMP ระดับอำเภอ จำนวน 878 ทีม ทั่วประเทศ • เกิดศูนย์เรียนรู้ Primary GMP ต้นแบบ จำนวน 24 แห่ง • ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปฯ ได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ Primary GMP ไม่น้อยกว่า 75% ของผู้มายื่นขออนุญาต • สนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับ หนังสือคู่มือการตรวจสถานที่ และหนังสือการขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร • สนับสนุนอุปกรณ์จัดตั้งคลินิก Primary GMP ระดับอำเภอทุกอำเภอ

  13. การจัดตั้งทีม Primary GMP ระดับอำเภอ

  14. ทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ประกอบด้วย 1. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลชุมชน 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาการอำเภอ 3. เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ

  15. ภารกิจของทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่ บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย - ผลิตภัณฑ์อาหารตามนโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) - ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร - วิสาหกิจชุมชน ที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน Primary GMP โดยการลงพื้นที่ให้ คำแนะนำและพัฒนาสถานที่ผลิตอาหาร

  16. ทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ทำงานร่วมกันอย่างไร 1. ร่วมกันประเมินสถานที่ผลิตเบื้องต้น เพื่อให้คำแนะนำในการพัฒนาตามเกณฑ์ Primary GMP โดยมี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเป็นแกนนำ 2. รวบรวมข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะ พร้อมจำหน่ายให้เป็นฐานข้อมูลเดียวกันทั้งประเทศ โดยมี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ เป็นแกนนำ และส่งรายงานให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตามเวลาที่กำหนด

  17. ทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ทำงานร่วมกันอย่างไร 3. สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมถึงแนะนำช่องทางแหล่งทุน ในการพัฒนาสถานที่ผลิต โดยมี สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอและสำนักงานเกษตรอำเภอ เป็นแกนนำ

  18. กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่ 1. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็น “พี่เลี้ยง” ให้กับทีม Primary GMP ระดับอำเภอ - ดูแลแนะนำด้านวิชาการ - ให้คำปรึกษาด้านการขออนุญาตและพัฒนาสถานที่ผลิต - ประสานงานกับ อย. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ ทีม Primary GMP ระดับอำเภอ

  19. กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่ 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลชุมชน - ให้คำแนะนำแนวทางการขออนุญาตเบื้องต้นและ พัฒนาสถานที่ผลิตตามหลักเกณฑ์ Primary GMP - ประสานรวบรวมข้อมูล และรายงานผลการดำเนินงานให้ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  20. กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่กลไกการทำงานและบทบาทหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาการอำเภอ - ให้คำแนะนำและส่งเสริมการพัฒนาสินค้าอาหาร OTOP ตามหลักเกณฑ์การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP) และมาตรฐาน Primary GMP - แนะนำช่องทางแหล่งทุนในการพัฒนา 4. เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ - ให้คำแนะนำแก่กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน ผู้ผลิตอาหารแปรรูปผลิตผลการเกษตรให้เป็นไปตาม เกณฑ์ Primary GMP

  21. ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดตั้งทีม Primary GMP ระดับอำเภอ (กท.สาธารณสุข/กท.มหาดไทย/กท.เกษตรและสหกรณ์) • ทวนสอบข้อมูลและรวบรวมรายชื่อสถานที่ผลิต • ประชุมทีมวางแผนการลงพื้นที่ให้คำแนะนำและพัฒนา • ลงพื้นที่ให้คำแนะนำและพัฒนา พร้อมทั้งเก็บข้อมูล • จัดทำรายงานส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  22. การบูรณาการทีม Primary GMP ภายใต้โครงการ 1 ทีม 1 อำเภอ

  23. การจัดตั้งคลินิก Primary GMP

  24. คลินิก Primary GMP สถานที่ตั้ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ภารกิจ บริการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับ - วิธีการที่ดีในการผลิตตามหลักเกณฑ์ Primary GMP - แนวทางการตรวจประเมินสถานที่ผลิต

  25. จ. กระบี่

  26. Primary GMP พัฒนาอาหารไทย ปลอดภัยสู่อาเซียน ด้วยความปรารถนาดีจาก…. กระทรวงสาธารณสุข

More Related