1 / 20

จัดทำโดย กรุณา มโนมาศ 4120016 อุนิตษา สังข์เกตุ 4120452

จัดทำโดย กรุณา มโนมาศ 4120016 อุนิตษา สังข์เกตุ 4120452. ISDN เพื่ออะไร. ISDN ย่อมาจาก Integrated Services Digital Network หรือ โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล. ระบบ ISDN ได้รวมเอาบริการต่างๆ ที่มีอยู่ เช่นระบบโทรศัพท์ ระบบโทรสาร

flynn
Télécharger la présentation

จัดทำโดย กรุณา มโนมาศ 4120016 อุนิตษา สังข์เกตุ 4120452

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จัดทำโดย กรุณา มโนมาศ 4120016 อุนิตษา สังข์เกตุ 4120452

  2. ISDN เพื่ออะไร ISDN ย่อมาจาก Integrated Services Digital Network หรือ โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล ระบบ ISDN ได้รวมเอาบริการต่างๆ ที่มีอยู่ เช่นระบบโทรศัพท์ ระบบโทรสาร โทรเลข ระบบ Teletex ระบบสื่อสารข้อมูลเข้าด้วยกัน แต่เดิมนั้นจะแยกระบบสาย ตามการใช้งาน แต่ในระบบ ISDN จะเป็นการยุบรวมเอาระบบชุมสายของระบบ การสื่อสารชนิดต่างๆ เป็นระบบเดียวกัน โดยใช้เป็นระบบดิจิตอลทั้งหมด

  3. ISDN เพื่ออะไร (ต่อ)

  4. สถาปัตยกรรมของระบบ ISDN ในระบบ ISDN อุปกรณ์ของผู้ใช้จะอินเตอร์เฟซกับอุปกรณ์ของผู้ให้บริการ เพื่อ เข้าสู่ระบบ ISDN ได้โดยผ่านดิจิตอลบิตไปป์ (digital bit pipe) ซึ่งข้อมูลที่ถูกส่ง ระหว่างอุปกรณ์ทั้งสองโดยผ่านดิจิตอลบิตไปป์นี้จะมีลักษณะของฟลูดูเพล็กซ์

  5. สถาปัตยกรรมของระบบ ISDN (ต่อ) ในระบบ ISDN มาตรฐานของช่องสัญญาณมีดังต่อไปนี้ ช่องสัญญาณ A - ช่องสัญญาณโทรศัพท์แบบแอนะล็อก สำหรับส่งข้อมูลเสียง 4 กิโลเฮิรตซ์ ช่องสัญญาณ B - ช่องสัญญาณดิจิตอล PCM ซึ่งมีอัตราส่งข้อมูล 64 Kbpsสำหรับส่งข้อมูลเสียง หรือคอมพิวเตอร์ ช่องสัญญาณ D- ช่องสัญญาณดิจิตอล ซึ่งมีอัตราส่งข้อมูล 16 หรือ 64 Kbps ใช้สำหรับส่งสัญญาณ ในการเริ่มติดต่อ การหาเส้นทาง การเลิกติดต่อ ช่องสัญญาณ H - การทำงานเหมือนช่องสัญญาณ B แต่อัตราการส่งข้อมูลจะสูงกว่า

  6. ลักษณะบริการของ ISDN แบ่งเป็น 3 พวกใหญ่ได้ดังนี้ 1. Narrow Band ISDN (ISDN-N) 2. Broadband ISDN (ISDN-B) 3. Universal ISDN (ISDN-U) cable

  7. รูปร่างหน้าตาของ ISDN-N อุปกรณ์หลักๆ ที่ต้องใช้และขาดไม่ได้ก็มี TA (Terminal Adapter)มีหน้าที่ทำให้อุปกรณ์ที่ไม่ใช่ ISDN (รวมทั้งโทรศัพท์ FAX และ เครื่องคอมพิวเตอร์) สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบ ISDN ได้ โดยต่อผ่านตัวแปล ง NT1 NT1 (Network Termination 1)มีหน้าที่ในการแปลงระบบจากสายที่มาจากศูนย์ ISDN (Central Office) กับระบบที่เป็นอุปกรณ์ ISDN (รวมทั้ง TA) ให้สามารถติดต่อกันได้ NT2 (Network Terminal 2) นั้นจะเป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถมากกว่า NT1แต่จะใช้ใน PRI เท่านั้น คือจะทำหน้าที่สลับการสื่อสารได้ด้วย และสามารถรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้

  8. รูปร่างหน้าตาของ ISDN-N (ต่อ)

  9. Narrow Band ISDN (ISDN-N) เป็นโครงข่ายที่พัฒนาเพิ่มเติมจากระบบ โทรศัพท์เดิม โดยใช้สัญญาณดิจิตอล ในการสื่อสารแทนสัญญาณสื่อสารเดิมเลย สามารถแบ่งย่อยได้อีกเป็น - Basic Rate Interface (BRI) - Primary Rate Interface (PRI)

  10. Basic Rate Interface (BRI) Basic Rate Interface (BRI) เป็นการเชื่อมต่อพื้นฐานของ ISDN ภาย ในหนึ่งคู่สาย (หนึ่งคู่สายจะเท่ากับ 1หมายเลข) จะมีช่องสัญญาณอยู่ 3 ช่อง ประกอบไปด้วย - ช่องสัญญาณแบบ B(Bearer)2 ช่อง ทำหน้าที่ส่งข้อมูลทั้งที่เป็นเสียง และข้อมูลต่างๆ - ช่องสัญญาณแบบ D (Data)1 ช่อง ใช้ในการควบคุมการสื่อสาร ในบางกรณีก็อาจใช้ ส่งข้อมูลได้ด้วย

  11. Primary Rate Interface (PRI) เป็นการสื่อสารขนาดใหญ่ปกติจะใช้สำหรับองค์กร หรือบริษัทที่ต้องการความเร็วสูง ในบริการระดับนี้จะแบ่งเป็น 2 ชนิดด้วยกันคือ -1.544 Mbpsมีช่องสัญญาณทั้งหมด 24 ช่อง ประกอบด้วยแบบ B ทั้งหมด 23 ช่อง แบบ D อีก 1 ช่อง - 2.048 Mbpsมีช่องสัญญาณทั้งหมด 31 ช่อง ประกอบด้วยแบบ B 30 ช่อง แบบ D อีก 1 ช่อง

  12. ลักษณะบริการของ ISDN (ต่อ) Broadband ISDN (ISDN-B)ถูกสร้างขึ้นเพื่อขยายขีดความสามารถของโครงข่าย เพิ่มขึ้นไปอีกให้ถึง 100 Mbps ขึ้นไปโดยตั้งชื่อระบบใหม่นี้ว่า ATM (Asyncronous Transfer Mode) ซึ่งออกแบบไว้ให้สามารถรองรับความเร็วได้ตั้งแต่ 45 Mbps จนถึง 1 Gbps แตกต่างกับระบบ ISDN-N ซึ่งใช้ระบบ Syncronous Transfer Mode Universal ISDN (ISDN-U) เป็นระบบออกแบบไว้ให้มีลักษณะความยืดหยุ่นสูง คือทำให้อุปกรณ์เชื่อมต่อมีเพียงแบบเดียวเท่านั้น ช่องสัญญาณสามารถเรียกใช้ ได้อย่างอิสระในการเรียกใช้แต่ละครั้ง

  13. การเดินสายเคเบิ้ลแบบ BAI • มีการดำเนินการ 2 ช่วง คือ • ช่วงเดินสายโทรศัพท์ทองแดงแบบ 2 เส้น (ต่อสายสัญญาณจากชุมสายถึงอุปกรณ์ NT) • ช่วงเดินสายทองแดงแบบ 4 เส้น (ต่อสายสัญญาณจากอุปกรณ์ NT สู่จุดติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ )

  14. การเดินสายเคเบิ้ลออกเป็น 3 แบบ • Short passive bus • อุปกรณ์ปลายทางหลายตัวต่อกับสายส่งความยาวจุดละ25 – 50 เมตรได้ถึง8 จุด • Extended passive bus • อุปกรณ์ปลายทางหลายตัวต่อกับสายส่ง ความยาว500 เมตรจุดละ 25-50 เมตรได้สูงสุด4จุด

  15. Point to point ต่อเครื่องรับและเครื่องส่งที่ปลายทางของสายส่งด้านละ 1 เครื่องแต่เนื่องจากอุปกรณ์ NT เส้นละประมาณ 1 กิโลเมตรดังนั้นการเดินสายแบบนี้จะสามารถต่ออุปกรณ์ได้สุงสุด 2 อุปกรณ์

  16. ISDN กับอุปกรณ์สื่อสารที่ทันสมัย 1.Video Conference 2.Desktop Video Conferenc 3.Video phone 4.Multifunction Terminal 5.Multiplexer Terminal 6.อุปกรณ์ตรวจวัดคลื่นหัวใจระบบISDN 7. Backup Terminal Adapter

  17. เอา ISDN ไปทำอะไรได้บ้าง • ใช้เป็นเส้นทางสื่อสารหลักระหว่าง LAN • ใช้ ISDN เป็นคู่สายสำรองในการส่งข้อมูลเมื่อคู่สาย Leased Line ที่ใช้อยู่จริงเกิดขัดข้อง • ให้บริการอินเตอร์เน็ตและระบบออนไลน์เซอร์วิส • ระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์

  18. What is the problem • ความเร็วในการสื่อสารไม่ได้ดีเท่าที่ต้องการเนื่องจากการเดินสายสัญญาณที่ไม่ถูกต้อง • ปัญหาในเรื่องของมาตราฐานที่แต่ละผู้ผลิตอุปกรณ์ยังไม่สามารถใช้งานแทนกันได้เต็มที่

  19. ประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการจะได้รับประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการจะได้รับ • ความเชื่อถือในการรับ – ส่งข้อมูล ความเร็วในการรับ – ส่งข้อมูลที่สูงขึ้น • ความคล่องตัวในการเพิ่มอุปกรณ์ปลายทางในอนาคต • ความสะดวกสบายในการดูแลบำรุงรักษาคู่สายในภายหลัง • ระบบ ISDN สามารถรองรับการให้บริการแบบใหม่ๆที่ทันสมัย • ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ โครงข่าย ISDN ยังมีความสามารถเหนือกว่าโครงการอื่น

  20. สามารถค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากสามารถค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก http://www.alumni.caltech.edu/~dank/isdn/ http://www.ralphb.net/ISDN/ http://www.isdn.ocn.com

More Related