1 / 44

หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE

หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE. สารบัญ. การบรรยาย : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ. แผนการสอนที่ 1 : หัวใจบริการ. โปรแกรมแบบประเมินเจตคติ. แผนการสอนที่ 2 : การเรียนรู้เรื่อง E A S E. VDO ต่อรอง.

Télécharger la présentation

หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE Psychological First Aid : EASE

  2. สารบัญ การบรรยาย :ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ แผนการสอนที่ 1: หัวใจบริการ โปรแกรมแบบประเมินเจตคติ แผนการสอนที่ 2: การเรียนรู้เรื่อง EASE VDO ต่อรอง แผนการสอนที่ 3: ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบภาวะวิกฤต VDOช็อค VDOโกรธ VDO เศร้า แผนการสอนที่ 4: Engagement3ส จากใจถึงใจ แผนการสอนที่ 5: Assessmentฝึกทักษะ 3ป เพื่อการช่วยเหลือ แผนการสอนที่ 6: Skillsเรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมทักษะ VDO Skills แผนการสอนที่ 7: Educationตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง แผนการสอนที่ 8: ฝึกทักษะ EASEแบบบูรณาการ แผนการสอนที่ 9: การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ

  3. PFA : การบรรยาย: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีพื้นฐานของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจเบื้องต้น ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  4. ความหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจความหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • Keywords: • การช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง • ตอบสนองความต้องการพื้นฐานเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดทางใจ • เสริมสร้างความรู้สึกปลอดภัย • ติดต่อเครือข่ายทางสังคม

  5. จุดมุ่งหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจจุดมุ่งหมายของการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • ลดความทุกข์ทางกายและจิตใจ • เพิ่มขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของผู้ประสบภัย • ช่วยให้ผู้ประสบภัยปรับตัวกลับสู่สภาพเดิม • ช่วยประสานผู้ประสบภัยกับครอบครัว ทรัพยากร และเครือข่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

  6. คุณลักษณะสำคัญของผู้ปฐมพยาบาลด้านจิตใจคุณลักษณะสำคัญของผู้ปฐมพยาบาลด้านจิตใจ • ท่าทีสงบ • แสดงความอบอุ่น • ตระหนักรู้ถึงปัญหา • แสดง Empathy • แสดงออกถึงความจริงใจ • เสริมอำนาจในการควบคุมตนเองและสิ่งแวดล้อม

  7. PFA : แผนการสอนที่ 3: ปฏิกิริยาด้านจิตใจของ ผู้ประสบภาวะวิกฤต วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องปฏิกิริยาด้านจิตใจเมื่อประสบเหตุการณ์รุนแรง 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์ได้ถูกต้อง 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางในการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  8. ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ด้านร่างกาย อ่อนเพลีย หน้ามืด ปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ด้านพฤติกรรม ตกใจตื่น ฝันร้าย แยกตัว ด้านการรับรู้ มึนงง สับสน นึกถึง ภาพความรุนแรง โกรธ กลัว ด้านอารมณ์ เศร้า

  9. ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Shock & Denial • อาการ : มึนงง สับสน เศร้า โกรธ ใจสั่นมือสั่น หายใจถี่แรง ไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

  10. ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Anger • อาการ : ตะโกนด่า เดินกระวนกระวาย กำมือ ขบกราม ตาขวาง มือปากสั่น

  11. ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Bargaining • อาการ : ขอเข้าไปดูญาติในห้อง ICU พูดซ้ำๆ หรือพูดคาดคั้น

  12. ขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยาด้านจิตใจของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต • Depression • อาการ : ร้องไห้ ไม่พูดจา นั่งคอตก หมดเรี่ยวแรง

  13. PFA : แผนการสอนที่ 4: : Engagement 3 ส จากใจถึงใจ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการสังเกต สร้างสัมพันธภาพและ รู้วิธีสื่อสารกับผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  14. : Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส1. การสังเกต ให้สังเกต • Nonverbal (สีหน้า แววตา การเคลื่อนไหวของร่างกาย) • Verbal (คำพูดสับสน ด่าทอ พูดวกวน ซ้ำๆ)

  15. : Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส2. การสร้างสัมพันธภาพ

  16. : Engagement 3ส จากใจถึงใจ • ส3. การสื่อสาร • พูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม เช่น • เริ่มสบตา มีท่าทีที่ผ่อนคลาย มีสติรู้ตัว รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวชัดเจนขึ้น เริ่มมองเห็นคนที่อยู่ข้างเคียงเขา รับรู้ว่ารอบตัวเขาเป็นสถานที่ใด • เน้นถึงความรู้สึกขณะนั้น เช่น ถามว่า “ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง” เพื่อให้พูดระบายความรู้สึก • ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น นอกจากผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอยากเล่า

  17. : Engagement 3ส จากใจถึงใจ สีหน้า ท่าทาง ส1 สังเกต น้ำเสียง ด่าทอ สับสน ขอความช่วยเหลือ คำพูด เนื้อหาที่พูด

  18. PFA : แผนการสอนที่ 5: : Assessment ฝึกทักษะ 3 ป เพื่อการช่วยเหลือ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย สภาพจิตใจ และสังคม ของผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤต ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  19. : Assessment 3ป เพื่อการช่วยเหลือ

  20. : Assessment 3ป เพื่อการช่วยเหลือ • ข้อควรจำ • ตัวชี้วัดที่บ่งบอกว่าผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีอาการดีขึ้น คือ • รับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล • อารมณ์สงบ • ลดเงื่อนไขในการต่อรอง อาจต่อรองในสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากขึ้น • หลังจากผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตยอมรับความจริง อาจมีอาการ หดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ • หาสัญญาณของภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย

  21. PFA: แผนการสอนที่ 6: : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะในการเรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวดทางใจ และเสริมสร้างทักษะการจัดการกับอารมณ์ ความรู้สึก และปัญหาเบื้องต้น ระยะเวลา: 2 ชั่วโมง

  22. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ คุยและใช้เวลาคุยกับคนอื่นๆ เพื่อเป็นกำลังใจ ฝึกกำหนดลมหายใจ พักผ่อนเพียงพอ การสัมผัส ทำกิจกรรมที่มีความสุขหลีกเลี่ยงความหมกมุ่น เรียกขวัญคืนสติ Grounding พยายามทำกิจวัตรประจำวันตามปกติให้ได้มากที่สุด แตกต่างจากการนวดทั่วไป ช่วยเรียกสติกลับคืนมา เพิ่มความรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย การนวดสัมผัส จัดตารางกิจกรรมที่มีความสุข การนวดกดจุด รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ทุกมื้อ ใช้วิธีคลายกล้ามเนื้อ วิธีคลายเครียด ใช้วิธีพูดกับตัวเองให้สงบ เสริมสร้างทักษะ หาที่ปรึกษา จดบันทึกลงในสมุด การเล่นดนตรีที่ชอบ การฟังเพลง/ร้องเพลง การดูโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ฟังอย่างใส่ใจ การสะท้อนความรู้สึก ลดความเจ็บปวดทางใจ ทำงานอดิเรกที่ตนเองสนใจ การเงียบ การพบปะสังสรรค์ การทวนซ้ำ การเล่นกีฬา และบริหารร่างกาย การออกกำลังกาย แบบแอโรบิค (AROBIC EXERCISE) การสร้างอารมณ์ขัน

  23. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ • สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง • ดื่มสุราเพื่อคลายทุกข์ • รับประทานอาหารมากหรือน้อยเกินไป • สูบบุหรี่จัด • ใช้สารเสพติด • ทำกิจกรรมที่เสี่ยงและใช้ความเร็ว

  24. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ Breathing Exercise Touching Skill การสัมผัส(Touching Skill) ไม่มีเทคนิคที่แน่นอนตายตัว การสัมผัสสื่อออกถึงความอบอุ่น ปลอดภัย มีที่พึ่ง การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing Exercise) - หายใจเข้านับเลข 1-4 หายใจออกนับ 1-4 - หายใจเข้านับว่า พุธ หายใจออกนับว่า โธ สำหรับผู้นับถือศาสนาพุทธ ส่วนผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม หายใจเข้านึกถึงคำว่า อัล หายใจออกนึกคำว่า ลอฮฺ

  25. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 1. ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตนั่งในท่าที่สบาย

  26. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 2. ให้หายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลาย

  27. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 3. บอกให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตพยายามมองรอบๆตัวพร้อมทั้ง กล่าวถึงสิ่งของรอบๆตัวออกมา 5 ชนิด โดยผู้ปฐมพยาบาลอาจ เริ่มทำให้ดูเป็นตัวอย่างเช่น “ตอนนี้ฉันเห็นพื้น ฉันเห็นรองเท้า ฉันเห็นโต๊ะสีแดง ฉันเห็นฯลฯ”

  28. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 4. ต่อมาให้ผู้ประสบเหตุการณ์พยายามฟังเสียงต่างๆ ที่ได้ยิน เช่น “ตอนนี้ฉันได้ยินเสียงผู้หญิงคุยกัน ฉันได้ยินเสียงคนกำลังพิมพ์ดีด ฉันได้ยินเสียงประตูปิด”

  29. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 5. ให้หายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลาย

  30. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค Grounding 6. ให้ขั้นตอนนี้ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตพยายามจับความรู้สึก ของตนเองที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เช่น - ฉันรู้สึกว่าตอนนี้ฉันนั่งอยู่บนเก้าอี้นุ่มๆ - ฉันรู้สึกถึงนิ้วหัวแม่เท้าของฉันที่อยู่ในรองเท้า - ฉันรู้สึกว่ามีลมพัดเบาๆโชยมาใส่หน้า - ฉันรู้สึกว่าริมฝีปากทั้งสองของฉันแนบชิดติดกัน 7. ให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตหายใจเข้าออกช้าๆ ผ่อนคลายไปเรื่อยๆ

  31. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 1. จัดให้นั่งให้ศีรษะพิงพนักเพื่อผ่อนคลาย หรือ นอนในท่าที่สบายตามความเหมาะสม

  32. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 2. เริ่มจากการนวดเบาๆ (เหมือนการนวดหน้า) ลูบไล้ไปมาบริเวณหน้า คาง หน้าผาก แก้ม 3. ให้นวดอย่างต่อเนื่อง ห้ามยกมือออกจากบริเวณที่นวด เพื่อเสริมสร้างความรู้สึกอบอุ่นปลอดภัย

  33. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดสัมผัส 4. ขณะนวดสัมผัส ให้ผู้ถูกนวดใจจดจ่ออยู่กับ บริเวณที่ถูกนวดและตามการสัมผัสที่รู้สึกไปเรื่อยๆ

  34. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด 1. จุดระหว่างคิ้ว: ใช้ปลายนิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดกลางระหว่างคิ้ว 3-5 ครั้ง 2. จุดใต้หัวคิ้ว :ใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดจุดใต้หัวคิ้วทั้ง 2 ข้างพร้อมๆกัน 3-5 ครั้ง

  35. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด บริเวณด้านคอ : ประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายทอยโดยเริ่มจากโคนผมลงมาจนถึง ช่วงต่อบริเวณต้นคอกับบ่า ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง จุดขอบกระดูกท้ายหลัง: มี 2 วิธี 1. นวดจุดกลาง โดยใช้นิ้วหัวแม่มือด้านที่ถนัด กดลงบนจุดกลาง 3-5 ครั้ง 2. นวดจุดด้านข้าง โดยประสานมือเข้าด้วยกันบริเวณท้ายคอ ใช้นิ้วหัวแม่มือ 2 ข้าง กดลงบน 2 จุดด้านข้างพร้อมกัน 3-5 ครั้ง

  36. : Skills เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวด เสริมสร้างทักษะ เทคนิค การนวดกดจุด บริเวณบ่า : 1. ใช้นิ้วชี้ นิ้วนางของมือซ้าย กดและบีบบริเวณจุดตรงบ่าขวา 3-5 ครั้ง 2. ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลางของมือขวากดและบีบบริเวณจุดตรงบ่าซ้าย 3-5 ครั้ง บริเวณไหล่ด้านหลัง : 1. ใช้มือขวาสอดใต้รักแร้ และใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลางกดจุดด้านหลังรักแร้ซ้าย แล้วใช้มือซ้ายกดจุดหลังรักแร้ขวา ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง 2. ใช้มือขวาเอื้อมข้ามบ่าซ้ายมากดจุดบริเวณด้านบน และกลางของกระดูกสะบักหลังด้านซ้าย และใช้มือซ้าย กดจุดด้านหลังสะบักขวา ถ้านวดด้วยตัวเองไม่ถนัด อาจต้องให้ผู้อื่นนวดให้แทน ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง

  37. PFA : แผนการสอนที่ 7: : Education ตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการตรวจสอบ สำรวจความต้องการ ทักษะการให้สุขภาพจิตศึกษา และการติดตามผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอย่างต่อเนื่อง ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  38. : Education ตรวจสอบความต้องการ เติมเต็มความรู้ ติดตามต่อเนื่อง สัมพันธภาพกับลูกวัยรุ่น เศรษฐกิจ ปัญหาพฤติกรรมเด็ก ตรวจสอบความต้องการ ปัญหาในครอบครัว ความเจ็บป่วยทางกาย ปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อนบ้าน คลายกล้ามเนื้อ ฝึกสมาธิ เยี่ยมบ้าน วิธีคลายเครียดของผู้ใหญ่ ออกกำลังกาย นัดหมายมาพบที่ สถานบริการสาธารณสุข ฟังเพลง ความเครียด ติดตามต่อเนื่อง เติมเต็มความรู้ การฝึกหายใจ วิธีคลายเครียดของเด็ก การโทรศัพท์ติดตามผล การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ภาครัฐ แหล่งช่วยเหลือด้านต่างๆ ภาคเอกชน

  39. PFA : แผนการสอนที่ 9: การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถดูแลจิตใจตนเองได้ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถสังเกต และประเมิน ตนเอง และ เพื่อนร่วมงานได้ 3. มีแนวทางในการผ่อนคลายความเครียด ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง

  40. การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ • ความเครียดของผู้ช่วยเหลือ • ด้านอารมณ์ • ด้านความคิด • ด้านร่างกาย • ด้านพฤติกรรม

  41. การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ • เทคนิคการจัดการความเครียด • การฝึกหายใจ • การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ • การจินตนาการ • Safe place

  42. การดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือการดูแลจิตใจตนเองของผู้ช่วยเหลือ การฝึกหายใจ การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เทคนิค การจินตนาการ Safe place การจัดการความเครียด นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้เพียงพอ มีการร่วมกลุ่มปรึกษาหารือ เปลี่ยนไปทำงานอย่างอื่นบ้าง รับฟังความรู้สึกซึ่งกันและกัน การดูแลจิตใจเพื่อนร่วมงาน ออกกำลังกายเบาๆ สังเกต ใส่ใจ ในการเปลี่ยนแปลงของเพื่อน ทำในสิ่งที่สร้างความเพลิดเพลิน ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน วิธีการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ให้ความสำคัญกับสิ่งที่คุณทำได้ดี เรียนรู้จากสิ่งที่ผิดพลาด เล่าเรื่องขำขันสู่กันฟัง สวดมนต์ ทำสมาธิ / ละหมาด ถามความรู้สึก และช่วยเหลือทางจิตใจระหว่างคนในทีม

  43. -The End-

  44. สารบัญ

More Related