1 / 45

การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและบริการสาธารณสุข สำหรับแรงงานข้ามชาติในรอบ 10 ปี (2546-2556)

กระทรวงสาธารณสุข. การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและบริการสาธารณสุข สำหรับแรงงานข้ามชาติในรอบ 10 ปี (2546-2556). อาเซียน เป็นจุดยุทธศาสตร์ทางการค้า การเมืองและการทหาร ประวัติศาสตร์อาณานิคม สงครามโลก สงครามเย็น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจเป็นทิศทางหลักในปัจจุบัน

geoff
Télécharger la présentation

การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและบริการสาธารณสุข สำหรับแรงงานข้ามชาติในรอบ 10 ปี (2546-2556)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระทรวงสาธารณสุข การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและบริการสาธารณสุข สำหรับแรงงานข้ามชาติในรอบ 10 ปี (2546-2556)

  2. อาเซียน เป็นจุดยุทธศาสตร์ทางการค้า การเมืองและการทหาร ประวัติศาสตร์อาณานิคม สงครามโลก สงครามเย็น การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจเป็นทิศทางหลักในปัจจุบัน การพัฒนาความเป็นสังคมเดียวกันของอาเซียนเพิ่งเริ่มต้น ความแตกต่างทางการพัฒนามีความห่างกันมาก การเปลี่ยนแปลงในภูมิภาค

  3. การย้ายถิ่นเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกการย้ายถิ่นเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก

  4. ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการย้ายถิ่นข้ามชาติประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการย้ายถิ่นข้ามชาติ ในแถบ ลุ่มน้ำโขง

  5. Healthy Thailand? WITH THE Ill and poor migrants?

  6. Immigration Bureau, National Security Council, Military Ministry of Interior, Police Law Security Health Human Rights Economy Interest Ministry of Public Health NGO Ministry of Labor Local Government, Employer

  7. Policy and Planning • Change Illegal Migrants into Semilegal then Legal Migrants • Improve Coverage Health Strategy • Specific Service for Specific Problem: HIV • Information System Development • Improve Access to Health Service System • Improve Participation, Migrant Health worker.

  8. Migrant Health Service Provision: impacts on Migrant health

  9. Treatment and Checkup Group

  10. Health Care Security Physical Check up and Health Insurance

  11. Self Care and Community Participation Migrant Health worker.

  12. Health Service Providing Mother and Child Health

  13. Lessons learnt • National Migrant Policy: Carbinet Approve • Improve Participation: Migrant Health Workers • Holistic Concept: Social, Environment • Intersectoral coordination: Among Ministries, NGO • Promote Improving Access to Health Service System, • Equity: Same Benefit Package as Universal coverage Program. • Appropriate Tactics in Different contexts • The more undocumented, the more exploitation and trafficking

  14. New Initiative • 15th Jan 2013 Cabinet approved • MoPH Migrant health long term Strategy • Not just migrant workers but families and children • Documented and Undocumented Children health insurance, 12 US dollars for a year

  15. New Initiative • 9th April 2013 government launched multi-ministry coordination program for 4 main social problem issues: teenage pregnancy, human trafficking, child labor and violence against child and women. • Using web base report program coordinate help among ministries country wide. • Ministry of Public Health initiate project in 2013 to review guide line for forensic medicine practice in hospitals in rural area : birth certificate, death certificate, rape case examination etc.

  16. ข้อมูลสถิติ

  17. IOM Thailand Migration Profile Source: Thailand Migration Report 2011

  18. IOM In-migration : 3,141,580 Source: Thailand Migration Report 2011

  19. จำนวนแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยจำนวนแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ข้อมูลจากแบบรายงานอิเล็กทรอนิกส์เมลล์ ฝ่ายสารสนเทศฯ กองแผนงานและสารสนเทศ สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กระทรวงแรงงาน เดือน ตุลาคม 2556 แรงงาน คนต่างด้าวจำนวน ประมาณ 1,174,900 คน เฉพาะแรงงานถูกกฎหมาย ประมาณ 1,154,259 คน ส่วนแรงงานผิดกฎหมาย ประมาณ 20,641 คน

  20. ประเภทและจำนวนของประชากรข้ามชาติในประเทศไทยประเภทและจำนวนของประชากรข้ามชาติในประเทศไทย หมายเลขประจำตัวบัตรประชาชน (สิงหาคม 2553) ขึ้นต้นด้วยเลข 00 คือ แรงงานข้ามชาติ จำนวน 2,487,045 คน ขึ้นต้นด้วยเลข 0 คือ คนไร้รัฐ จำนวน 210,182 คน ขึ้นต้นด้วยเลข 000 คือ ผู้ลี้ภัย จำนวน 102,664 คน ขึ้นต้นด้วยเลข 6 , 7 หรือ 8 คือ ชนกลุ่มน้อย จำนวน 303,610 คน (หมายเหตุ 7 คือลูกของ 6 หรือ 8 คือลูกของ 7 และหลานของ 6) นอกจากนี้ยังมีแรงงานต่างด้าวไม่ขึ้นทะเบียน,ผู้ติดตามที่เป็นเด็กและผู้สูงอายุ มหาดไทย

  21. ปัจจุบันกำลังพิสูจน์สัญชาติ ได้หนังสือเดินทาง PASSPORT

  22. การผ่อนผันแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 และวันที่ 9 เมษายน 2556 ( ข้อมูล ณ วันที่ 11 กรกฎาคม 2556)

  23. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ออกประกาศกระทรวงมหาดไทยอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจำพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ (เฉพาะกิจการประมงทะเล) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2556 ลงวันที่ 19 กันยายน 2556 เพื่อให้นายจ้างนำคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา ที่ลักลอบอยู่กับนายจ้างในกิจการประมงทะเล ใน 22 จังหวัดที่มีพื้นที่ติดทะเล ไปจัดทำทะเบียนประวัติ (ท.ร.38/1)ระหว่างวันที่ 25 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 23 ธันวาคม 2556

  24. บริการสาธารณสุขสำหรับแรงงานข้ามชาติบริการสาธารณสุขสำหรับแรงงานข้ามชาติ

  25. มาตรการการบริการและนโยบายการดูแลสุขภาพแรงงานต่างด้าวมาตรการการบริการและนโยบายการดูแลสุขภาพแรงงานต่างด้าว

  26. การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายและการบริการด้านสาธารณสุขใน รอบ 10 ปี

  27. การดำเนินงานตรวจสุขภาพ และประกันสุขภาพ คนต่างด้าวที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม และผู้ติดตามทั้งหมด รวมทั้งบัตรสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก (Health Card for Mother and Child) 28

  28. ราคาบัตรสำหรับคนต่างด้าวราคาบัตรสำหรับคนต่างด้าว เพิ่มเติมสิทธิประโยชน์สำหรับคนต่างด้าว เรื่อง ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) 29

  29. การบริหารงบประมาณ คนต่างด้าวทั่วไป อายุเกิน 7 ปี (ใหม่) เงินประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวทั่วไป อายุเกิน 7 ปี (1,300  2,200 บาท) ค่าบริหารจัดการ (130 บาท) ค่าส่งเสริมป้องกันโรค (206 บาท) ค่าบริการทางการแพทย์ (964 บาท) เงินเพิ่ม (900บาท) • กลุ่มประกันสุขภาพ สป. • ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) • ส่งคืนหน่วยบริการที่ประสบปัญหาขาดทุน สสจ./ กรมการแพทย์ 206 บาท/คน 1) สถานพยาบาลที่รับขึ้นทะเบียน 914 บาท 2) กลุ่มประกันสุขภาพ สป. เบิกชดเชยค่าใช้จ่ายสูง 50 บาท/คน • 1) สสจ./ กรมการแพทย์ 120 บาท/คน • กลุ่มประกันสุขภาพ สป. 10 บาท/คน • บริหารจัดการ

  30. เด็กต่างด้าว อายุ0-7 ปีบริบูรณ์ (ใหม่) เงินประกันสุขภาพสำหรับเด็กต่างด้าว อายุ 0-7 ปีบริบูรณ์ (365 บาท) ค่าบริหารจัดการ (36.50 บาท) ค่าบริการทางการแพทย์ (270.50 บาท) ค่าส่งเสริมป้องกันโรค • 1) สถานพยาบาลที่รับขึ้นทะเบียน 256.50 บาท • กลุ่มประกันสุขภาพ • เบิกชดเชยค่าใช้จ่ายสูง + ARV14 บาท/คน • สสจ./ กรมการแพทย์ • 33.50 บาท/คน • กลุ่มประกันสุขภาพ • 3 บาท/คน สสจ./ กรมการแพทย์ 58 บาท/คน

  31. คนต่างด้าวที่รอเข้าระบบประกันสังคม อายุคุ้มครอง 3 เดือน (ใหม่) เงินประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวที่รอเข้าระบบประกันสังคม (447  550 บาท) ค่าส่งเสริมป้องกันโรค (51.50 บาท) ค่าบริการทางการแพทย์ (241 บาท) เงินเพิ่ม(225บาท) ค่าบริหารจัดการ (32.50 บาท) • กลุ่มประกันสุขภาพ สป. • ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) • ส่งคืนหน่วยบริการที่ประสบปัญหาขาดทุน • สถานพยาบาลที่รับขึ้นทะเบียน 228.50 บาท • กลุ่มประกันสุขภาพ สป.เบิกชดเชยค่าใช้จ่ายสูง 12.50 บาท/คน สสจ./ กรมการแพทย์ (51.50 บาท/คน) • 1) สสจ./ กรมการแพทย์ 30 บาท/คน • กลุ่มประกันสุขภาพ สป.2.50 บาท/คน • บริหารจัดการ

  32. สิทธิประโยชน์ การให้ยา ARV ความชุกของการติดเชื้อ (Prevalence rate) New cases + Old cases ระยะการดำเนินโรค ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV จะมีอาการของโรคในระยะเวลา 7-8 ปี หลังจากติดเชื้อ อัตราการรอดชีวิต และอายุคาดเฉลี่ย (life expectancy) ขึ้นกับการได้รับยา ARV การเข้าถึงบริการ (Access to care) ของกลุ่มเป้าหมาย ความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วย (patient compliance) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงขึ้นมาก การแพร่กระจายเชื้อ การติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunity Infection, OI) การเปลี่ยนสูตรยา โอกาสเชื้อดื้อยา

  33. กลุ่มเป้าหมายของบัตรสุขภาพ ที่กระทรวงสาธารณสุขออกให้ คือ • คนต่างด้าวที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม และผู้ติดตามทั้งหมด • แม่หรือหญิงตั้งครรภ์+เด็กแรกคลอด ทั้งคนไทยและคนต่างด้าวที่เกิดในไทย 1. รูปแบบของบัตร ระบบการแจ้งเกิดของรพ.ที่มีอยู่ในโครงการ Birth registry เลขรหัสประจำตัว (Personal ID; PID)ขึ้นต้นด้วยเลข 605 ลงทะเบียนสิทธิ บันทึกเข้าโปรแกรม ออกหนังสือรับรองการเกิด ฐานสิทธิประกันสุขภาพไทย 63 ล้านคน ฐานข้อมูลการเกิด ของ สนบท. แจ้งเกิด ออกสูติบัตร ฐานข้อมูลการเกิด ของ สปสช. 34

  34. 2. การลงทะเบียนและออกบัตร2. การลงทะเบียนและออกบัตร • การตรวจสุขภาพ จำหน่ายบัตรสุขภาพและขึ้นทะเบียน สำหรับคนต่างด้าว • หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งตั้งแต่ระดับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลศูนย์ • ให้เก็บเงินค่าตรวจสุขภาพและค่าประกันสุขภาพ พร้อมจำหน่ายบัตรสุขภาพทันที ที่ทำการตรวจสุขภาพเสร็จ • ถ้าผลการตรวจสุขภาพไม่ผ่าน ให้นำใบเสร็จมาขอรับเงินค่าประกันสุขภาพคืน • สปสช. จะดำเนินการปรับโปรแกรม ให้พื้นที่สามารถคีย์ข้อมูล และสามารถออกบัตรประกันสุขภาพได้ ณ จุดขาย โดยรหัสประจำตัว (Personal ID; PID) ขึ้นต้นด้วยเลข 605 โดย สปสช. จะดำเนินการออกไม่ให้ซ้ำ และคนต่างด้าวจะต้องแจ้งด้วยว่า อยู่ในพื้นที่ให้บริการใด? • โรงพยาบาลสามารถตรวจสอบได้จากตัวบัตร และฐานข้อมูลของ สปสช. และของกระทรวงสาธารณสุข 35

  35. การลงทะเบียนและออกบัตรการลงทะเบียนและออกบัตร รพ. หน่วยบริการตรวจสอบข้อมูลบุคคล/ สิทธิที่ สปสช. 2 ประชาชน แจ้งความจำนงขอทำบัตรสุขภาพ ณ หน่วยบริการ 1 สปสช. ประชาชน เครื่องพิมพ์บัตร • ดึงข้อมูลจาก สปสช. • ประกอบด้วย • ข้อมูลบุคคล • ข้อมูลสิทธิ 3 ส่งบัตรให้ประชาชน 5 พิมพ์บัตรผ่านโปรแกรมออนไลน์ ณ หน่วยบริการ 4 บัตร 36

  36. คนต่างด้าว ด้านหน้าบัตร สิทธิประโยชน์คนต่างด้าวที่ได้รับ ได้แก่ การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง รวมทั้งการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษาระหว่างสถานพยาบาล การควบคุมป้องกันโรคในคนต่างด้าว การเฝ้าระวังโรคในคนต่างด้าว ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ต้องมีลายเซ็นปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล กำกับ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ สิทธิประโยชน์ของเด็กที่ได้รับ ได้แก่ การดูแลทารกแรกเกิดตั้งแต่วันคลอดจนถึงอายุ 28 วัน การให้วัคซีนพื้นฐาน (ในเด็ก 0–15 ปี) การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด สิทธิประโยชน์ของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับ ได้แก่ การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก การให้บริการดูแลการคลอด และหลังคลอด การวางแผนครอบครัว ทั้งนี้รายละเอียดให้เป็นไปตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด 37

  37. 3. สิทธิประโยชน์ของบริการที่ได้รับ ทั้งเด็กและหญิงตั้งครรภ์ • สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ • การตรวจรักษาโรคและฟื้นฟูสภาพทั่วไป • การรักษาพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายสูง และการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) • กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉิน • การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการรักษาระหว่างสถานพยาบาล • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ได้แก่ • การตรวจและดูแลเพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การคลอด ตลอดจนการให้บริการดูแลหลังคลอด • การให้ยาต้านไวรัสเอดส์ (ARV) กรณีเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากแม่สู่ลูก • การวางแผนครอบครัว ประกอบด้วย การทำหมัน ฉีดยาคุม ฝังยาคุม และการจ่ายยาคุมกำเนิด • การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันในเด็ก เช่น การให้วัคซีนป้องกันโรคตามวัย 38

  38. ยุทธศาสตร์สาธารณสุขประชากรต่างด้าว กระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2556 วิสัยทัศน์ ประชากรต่างด้าวมีสุขภาพดี โดยความร่วมมือของภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างบูรณาการ

  39. พันธกิจ ๑. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับประชากรต่างด้าวที่ครอบคลุม เข้าถึงได้ และมีมาตรฐาน ๒. จัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับประชากรต่างด้าวอย่างเหมาะสม ๓. สร้างความเข้มแข็งในการประสานความร่วมมือของเครือข่ายทุกภาคส่วน และบูรณาการการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ๔. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชากรต่างด้าวและชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ๕. พัฒนาระบบบริหารจัดการและสารสนเทศ

  40. ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับประชากรต่างด้าวที่ครอบคลุมและเข้าถึงได้และมีมาตรฐาน ๒. การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ๓. การมีส่วนร่วมของประชากรต่างด้าว และชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว โดยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ๕. การบริหารจัดการ

  41. ผลการตรวจ * ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2556

  42. ข้อมูล อสต ข้อมูล อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต.) ในชุมชน มีทั้งหมด 2,467 คน ส่วนใหญ่เป็นมูลนิธิรักษ์ไทย ภายใต้โครงการฟ้ามิตร ผู้แทนคณะกรรมคาทอลิกเพื่อผู้อพยพย้ายถิ่นและผู้คุมขัง (NCCM) มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิ์ เป็นต้น อัตราอสต. : ประชากร เฉลี่ย 1:100 คน ในจังหวัดสมุทรสาคร มีมากที่สุด 1,885 คน ไม่มีค่าตอบแทน แต่ก็มีการสร้างขวัญและกำลังใจโดยมอบเสื้อ อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว กระเป๋าใส่สื่อเอกสาร จักรยานเพื่อทำงานประสานงานกับเจ้าหน้าที่ ส่วนในจังหวัดที่มีอสต. จำนวนไม่มากจะมีค่าตอบแทนมอบให้ 400-900 บ./เดือน

  43. สวัสดี

More Related