1 / 44

การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี

การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี. อ.ดร.จีราภรณ์ อินทสาร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. ธาตุอาหารหลัก. -ไนโตรเจน (Nitrogen-N) - ฟอสฟอรัส (Phosphorus-P) - โพแทสเซียม (Potassium-K). ธาตุอาหารรอง. -แคลเซียม (Ca) -แมกนีเซียม (Mg) -ซัลเฟอร์ (S). ธาตุอาหารเสริม.

Télécharger la présentation

การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี อ.ดร.จีราภรณ์ อินทสาร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่

  2. ธาตุอาหารหลัก • -ไนโตรเจน (Nitrogen-N) • -ฟอสฟอรัส (Phosphorus-P) • -โพแทสเซียม (Potassium-K)

  3. ธาตุอาหารรอง -แคลเซียม(Ca) -แมกนีเซียม(Mg) -ซัลเฟอร์(S)

  4. ธาตุอาหารเสริม -สังกะสี -เหล็ก -ทองแดง -แมงกานีส -โบรอน -โมลิบดินัม -คลอรีน

  5. ไนโตรเจน (Nitrogen) • -มีผลต่อการเจริญเติบโตและระบบราก • -ควบคุมทางสรีระและการติดดอกออกผล • -ควบคุมคุณภาพของผลผลิต • -ถ้ามีมากเกินไป เส้นใยขาด คุณภาพแป้งเสีย ระบบรากลดลง • -ถ้าขาด ต้นเตี้ย ใบล่างแสดงอาการเหลืองก่อน

  6. N deficiency symptoms: corn N deficiency symptoms: tobacco

  7. ฟอสฟอรัส (Phosphorus) -การงอกของเมล็ด -ความแข็งแรงของระบบราก(ต้นกล้า) -เป็นผลดีต่อการออกดอก -คุณภาพผลผลิต ต้านทานการเกิดโรค -ถ้าขาด ต้นแคระแกรน รากสั้น ใบเล็กร่วงเร็วกว่าปกติ ใบเข้มผิดปกติ สีม่วง

  8. P deficiency sypmtoms

  9. โพแทสเซียม (Potassium) • มีผลต่อการควบคุมปริมาณ น้ำหนัก และคุณภาพของผลผลิต • ปริมาณน้ำตาลของพืช • ถ้าขาด ขอบใบปลายใบจะไหม้ เนื้อใบไหม้ ขาดวิ่น

  10. K deficiency symptoms

  11. แคลเซียม (Ca) • ลดความเป็นพิษของธาตุอื่น เช่น เหล็ก แมงกานีส สังกะสี และ อลูมินัม แมกนีเซียม (Mg) • จำเป็นต่อขบวนการเจริญเติบโต ซัลเฟอร์(S) • -เพิ่มปริมาณน้ำมันในพืช และเร่งการเจริญเติบโต

  12. Ca deficiency symptoms

  13. Ca deficiency symptoms

  14. ธาตุอาหารเสริม -มีผลต่อการเจริญเติบโต แม้จะต้องการใน ปริมาณที่เล็กน้อยเท่านั้น เช่นโบรอน มีผลต่อความหวานของผลไม้ โมลิบดินัม มีผลต่อพืชตระกูลถั่ว

  15. ที่มาของธาตุอาหาร • มีอยู่ในดินทั่วไป • ได้จากการใส่ปุ๋ย • ติดมากับยาฆ่าแมลง หรือยากำจัดวัชพืช • ได้จากปุ๋ยอินทรีย เช่น มูลสัตว์ ปุ๋ยหมัก

  16. ปุ๋ย-Fertilizers • สารใดก็ตามที่มีธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีพของพืชและอยู่ในสภาพที่เหมาะสมที่ใส่ลงไปในดินหรือพืชโดยตรง • สารใดที่ใส่เพื่อจุดประสงค์อื่น เช่นเพื่อยกระดับ pH แม้จะมีธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบ เราไม่ถือว่าเป็นปุ๋ย ยกตัวอย่างเช่น ปูน หรือ gypsum

  17. สมบัติบางประการของปุ๋ยเคมีสมบัติบางประการของปุ๋ยเคมี • ปริมาณอาหารธาตุที่มีในปุ๋ย โดยส่วนมากจะเป็นการรับประกันระดับธาตุอาหารที่มีในปุ๋ย โดยปุ๋ยไนโตรเจนจะบอกในรูป total-N, ฟอสฟอรัส ในรูป available phosphoric acid(P2O5) และ โพแทสเซียมในรูป water soluble potash (K2O) โดยการเขียนสูตรปุ๋ยนั้นจะเรียงลำดับ N-P-K ไม่มีการสลับเป็นอันขาด เช่น 5-10-10 คือในปุ๋ยหนัก 100 กก. จะมี total-N 5 กก. มีP2O510 กก และ มี K2O 10 กก.

  18. ปุ๋ยไนโตรเจน • 1.ปุ๋ยอินทรีย์ไนโตรเจน-organic nitrogen fertilizer -เลือดแห้ง N=8-12%, P2O5= 0.3-1.5% และ K2O=0.5-0.8% -เศษเนื้อพังผืดN=5-10%, P2O5= 1-3% และ K2O=1-1.5% -กากเมล็ดฝ้ายN=6-9%, P2O5= 2-3% และ K2O=1-2% -กากเมล็ดละหุงN=4-7%, P2O5= 1-1.5% และ K2O=1-1.5% -กากน้ำปลาN=2.54%, P2O5= 7.91% และ K2O=0.06%

  19. 2.ปุ๋ยอนินทรีย์ไนโตรเจนinorganic nitrogen fertilizer • 1.โซเดียมไนเตรต ได้มาจากแร่ธรรมชาติแหล่งใหญ่ในประเทศชิลี ซึ่งเป็นสารสีขาวหรืออาจจะมีสีต่างๆปะปนเช่น สีชมพู เหลือง เทา หรือ ม่วง ขึ้นกับสิ่งเจือปน เช่นถ้ามีแมงกานีสปนจะให้สีชมพู เป็นสารที่ดูดความชื้นได้ดีจึงกระจายได้เร็วในดิน และถูกชะล้างได้ง่าย เมื่อใส่ลงไปในดินที่ Cl สูงจะทำให้ดินเหนียวจัดเมื่อเปียกและแข็งมากเมื่อแห้งดินแน่นทึบ เพราะ Na ทำให้อนุภาคดินฟุ้งกระจายปัจจุบันมีการผลิตที่จำกัดและใช้กันน้อย

  20. 2.แอมโมเนีย 1)ในรูปผลิตผลพลอยได้ จากอุตสาหกรรมการผลิตถ่านโค๊ก โดยการเผาถ่านหินบางชนิดในที่ไม่มีอากาศแล้วได้สารชนิดต่างๆระเหยออกมา ซึ่งจะมีกาซแอมโมเนียรวมอยู่ด้วย แล้วจึงทำการแยกออกมาภายหลัง 2) ได้จากการสังเคราะห์จากกาซไนโตรเจนและไฮโดรเจน ตามปฏิกิริยาของ Claude-Haber ammonia synthesis N2 + 3 H2 2NH3

  21. +NH3 NH4NO3 -33%N HNO3 +NaCO3 NaNO3 -16%N +O2 + Phosphates Rock Nitrophosphates -12-20%N +H2SO4 (NH4)2SO4 -21%N NH3 +H3PO4 Ammonium Phosphates -11-21%N +CO2 Urea -45%N +NH4NO3, Urea & H2O Nitrogen Solutions -27-53%N +H2O Aqua Ammonia -20%N

  22. 3.ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปอนุพันธ์ของแอมโมเนีย3.ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปอนุพันธ์ของแอมโมเนีย • 1.ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต • 2.ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต • 3.ปุ๋ยยูเรีย • 4.ปุ๋ยแอมโมเนียมตลอไรด์ • 5.ปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต • 6.ปุ๋ยแคลเซียมแอมโมเนียมไนเตรต • 7.ปุ๋ยแคลเซียมไซยานามิก • 8.ปุ๋ยน้ำในรูปสารละลายไนโตรเจนและอควาร์แอมโมเนีย • 9.ปุ๋ยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างช้าๆ

  23. ปุ๋ยฟอสฟอรัส- Phosphorus Fertilizer • ปุ๋ย P ทุกชนิดจะบอกในรูป P2O5ซึ่งนิยมมากกว่าการบอกในรูป total-P นอกจากนี้ในการรับประกันปริมาณ P ในปุ๋ยก็นิยมใช้เปอร์เซ็น P2O5เป็นเกณฑ์ในการวัด • P2O5 มีหลายรูปเช่น water soluble P2O5 , citrate soluble P2O5 , citrate insoluble P2O5 , Available P2O5 and total P2O5 • พืชจะใช้ ฟอสเฟต ในรูป monophosphate and Diphosphate > triphosphate

  24. ชนิดของปุ๋ยฟอสเฟต • 1.เบสิกสแลก (Basic slag) • 2.กระดูกป่น (Bone meal)-B.P.L • 3.หินฟอสเฟต (Rock phosphate) • 4.ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต

  25. 5.ปุ๋ยแคลเซียมฟอสเฟต • 6.ปุ๋ยแอมโมเนียม ซุปเปอร์ฟอสเฟต • 7.กรดฟอสฟอรัส • 8.กรดซุปเปอร์ฟอสฟอรัส

  26. ปุ๋ยโพแทสเซียม • วัตถุดิบที่นำมาผลิตได้มาจากแร่โพแทสเซียมชนิดต่างๆที่มีความสามารถในการละลายน้ำต่างกัน เช่น แร่ที่มี KCl เป็นองค์ประกอบหลัก แร่ที่ละลายน้ำได้น้อย , แร่ที่ไม่ละลายน้ำ แร่เฟลสปาร์, แร่ไมกา โดยคิดเอา ปริมาณ K ในรูป %K2O • สินแร่เหล่านี้มักจะมีเกลือชนิดอื่นเจือปนอยู่ เช่น NaCl , MgCl2และเกลือ ของ Al ซึ่งการจะนำสินแร่เหล่านี้มาทำปุ๋ยโพแทสเซียมต้องนำมาแยกแยกเอาเกลือ KCl ในรูปที่บริสุทธิ์เสียก่อน เพราะอาจทำให้เกิดพิษของเกลือชนิดอื่นต่อพืชได้

  27. ประเภทปุ๋ยโพแทสเซียมที่นิยม 6 ชนิด • 1. ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) ปุ๋ยชนิดนี้จะมีปริมาณ %K2O นอกจากนี้จะให้ Cl ด้วยแต่พืชมักจะใช้ในปริมาณที่ไม่มาก และอาจจะมีผลต่อผลิตพืชบางชนิดเช่น ยาสูบและ มันฝรั่ง แต่พืชบางชนิดจะชอบเช่น มะเขือเทศ ผักกาดหัว • 2.ปุ๋ยโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4) จะมีปริมาณ %K2O 48-50 ได้มาจากแร่ K2SO4.2MgSO4 + KCl หรือ การ นำ KCl+ H2SO4แล้วตกผลึกได้ K2SO4และมีราคาแพงกว่า KCl

  28. 3.ปุ๋ย Sulfate of potash-magnesia ปุ๋ยชนิดนี้มีปริมาณ K2O 22-23% และมี MgO 18-19% • 4. ปุ๋ย Manure Salt ปุ๋ยชนิดนี้มีองค์ประกอบที่เรียกว่า crude potassium salt ที่มี K2O 25-30% และมี NaCl ปะปนอยู่ในปริมาณมาก • 5.ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต Potassium nitrate ปุ๋ยนี้จะมีไนโตเจน 13% และ K2O 46% • 6.ปุ๋ยโพแทสเซียมเมตาฟอสเฟต-Potassium metaphosphate เป็นปุ๋ยที่มีปริมาณ P2O5 55% และ K2O 35-36%

  29. ปุ๋ยผสม-Mixed Fertilizer • ปุ๋ยผสมธาตุอาหารครบ-complete fertilizer ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารหลักครบ 3 ตัว ปุ๋ยผสมตัวนี้จะนิยมกว้างขวางเช่นสูตร 15-15-15, 13-13-21 และ 12-24-12 • ปุ๋ยผสมธาตุอาหารไม่ครบ-incomplete fertilizer ปุ๋ยผสมที่มีธาตุอาหารไม่ครบ 3 ตัวและเกิดจากแม่ปุ๋ย 2 ชนิดมาผสมกัน โดยแม่ปุ๋ยมีธาตุต่างชนิดกันเช่น KNO3 หรือ ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต ( 18-46-0)

  30. ปุ๋ยอินทรีย์-organic Fertilizer • 1.ปุ๋ยคอก -ชนิดของสัตว์จะทำให้ได้ปริมาณธาตุอาหารแตกต่างกัน เช่นปริมาณ N, P, K หรือ จุลธาตุ • 2.ปุ๋ยหมัก -ชนิดของเศษอินทรีย์สารที่นำมาหมัก และระยะเวลาในการหมักปุ๋ย • 3.ปุ๋ยพืชสด - พืชสดที่ปลูกในพื้นที่แล้วทำการไถกลบลงไปในดิน โดยปริมาณธาตุอาหารขึ้นอยู่กับชนิดพืชเช่นพืชตระกูลถั่ว

  31. หลักการใช้ปุ๋ยเคมี • 1.ใช้ชนิดปุ๋ยที่ถูกต้อง • 2.ใช้ในปริมาณที่พอเหมาะ • 3.ใส่ให้กับพืชในระยะที่เหมาะสม • 4.ใส่ให้พืชโดยวิธีการที่ถูกต้องเพื่อพืชจะนำไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายและเร็วที่สุด

  32. วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆวิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆ • 1.การใส่แบบหว่าน-broadcasting • 2.การใส่แบบเฉพาะจุดหรือเป็นแถบ-localized placement • 3.การใส่แบบฉีดพ่นให้กับพืชโดยตรงทางใบ- foliar application • 4.การใส่ปุ๋ยในระบบชลประธาน-fertigation

  33. สภาพที่เหมาะสมบางประการต่อการเลือกใช้วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆสภาพที่เหมาะสมบางประการต่อการเลือกใช้วิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆ • 1.การใส่แบบหว่าน -ลักษณะของพืชที่ปลูกแบบหว่านหรือไม่เป็นแถว -พืชมีระบบรากฝอยมากเช่นหญ้า -เมื่อดินมีระดับธาตุอาหารเพียงพอและต้องการชดเชยส่วนที่หายไป -ปุ๋ยมีราคาถูกและต้องใช้ในปริมาณมากๆ -เป็นปุ๋ยที่ละลายน้ำได้น้อย เช่น หินฟอสเฟต และเบสิกสเล๊ก -เหมาะกับดินเนื้อหยาบ เช่นดินทราย ดินร่วนปนทราย

  34. 2.การใส่แบบเฉพาะจุด หรือเป็นแถบ • เหมาะสมสำหรับปุ๋ยเคมีที่มีการเคลื่อนย้ายในดินน้อย เช่นฟอสเฟต • เหมาะกับพืชที่ปลูกเป็นแถวเป็นแนว • เมื่อใส่ปุ๋ยฟอสเฟตและโพแทสเซียมที่ละลายน้ำง่าย • เมื่อพืชมีระบบรากจำกัดหรือไม่แพร่กระจายทั่วไปในดินชั้นบน • เมื่อดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

  35. 3.การใส่ปุ๋ยทางใบ • เมื่อพืชแสดงอาการขาดและการใส่ปุ๋ยทางดินช้าเกินไป • เมื่อการเกิดอาการขาดธาตุอาหารเสริมและปัญหาการตรึงธาตุอาหารในดิน • เป็นการต้องการธาตุอาหารเสริมในปริมาณเพียงเล็กน้อย • เมื่อจำเป็นต้องฉีดยาป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชสามารถทำในเวลาเดียวกัน • เมื่อต้องการเสริมปริมาณธาตุอาหารจากการใส่ทางดิน

  36. ข้าว • -ไนโตนเจน ตอบสนองดีที่สุด • -ระยะเวลาการใส่ปุ๋ย และ ฤดูกาล • -วิธีการใส่ ลึกลงไป 10 ซม. ปุ๋ยเม็ดที่ผ่านการเคลือบ • -ฟอสฟอรัส ช่วยในการแตกกอ ถ้ามีมากกว่า 15 ppm ก็น่าจะเพียงพอ • -โพแทสเซียมช่วยในการต้านทานโรคและส่งเสริมการแตกกอได้ดี • 50-75 ppm

  37. ข้าวโพด+ข้าวฟ่าง • N,P,K กินมาก และ sensitive กับ Mg and Zn สูง • N-120 kgN/H, P-15 ppm, K 70-80 ppm, Mg-1.2-1.5 me/100g Zn >2 ppm • ปุ๋ยที่ใช้ 15-15-15, 13-13-21 • การเก็บตัวอย่างใบเพื่อตรวจสอบควรเก็บในช่วง 30-35 วันนับจากยอด • ข้าวฟ่างจะทนเกลือ และตอบสนองกับธาตุ Fe • ผลผลิตข้าวโพด 400 kg/rai ข้าวฟ่าง 300 kg/rai

  38. อ้อย • ต้องการ N สูง 120 kg/H , P-20-30 ppm , K 80-100 ppm • ผลข้างเคียงของ lime เช่น Ca, Si, Mg เช่น Basic slag • ปุ๋ยที่ใช้ 15-15-15, 13-13-21, 12-12-17-2, 12-8-24 • การใส่ปุ๋ย K ทุกๆ 10 ppm ที่เพิ่มขึ้น จะเท่ากับ 4.5 kg K2O/rai

  39. ถั่วเหลือง • N 3-5 kg/rai ดินทราย >5 kg/rai • P 15 ppm and K 40-50 ppm • Liming ทนกรดไม่ค่อยได้ ต้องยกระดับ pH ให้เหมาะสม • Sensitive Mg (0.8 meq/100 g) and S เพราะ %โปรตีน และน้ำมันน้อย • สายพันธ์ที่มีเมล็ดใหญ่จะกิน B มากสูง > 2 ppm • Mo ~ 2.5-5.0gm Mo/rai

  40. ถั่วลิสง • N ~5 kg/rai • P 15 ppm and K 40-50 ppm • ข้อจำกัดจะทนกรดได้ดีกว่าถั่วเหลือง แต่ต้องการ Ca มากกว่าถั่วเหลืองมักจะใส่ปูนในรูป CaSO4.5H2O ~ 20 kg • ตอบสนองต่อ Mg ( 0.8 me/100g) and S เพราะ %โปรตีน และน้ำมันน้อย • ต้องการ B มาก เพราะจะก่อให้เกิด hallo heart • ปุ๋ยสูตรเสมอ หรือ 3-9-9

  41. ยาสูบ • N- ขึ้นกับฤดูกาล เรียกตามชนิดยาสูบที่ได้ เช่น ยาฝน 5.0-5.6 ยาดอ 7.2 ยานา 7.2-7.8 ยารอฝน 5.0-5.6 • ปุ๋ยที่นิยม 6-18-24-4-0.5 or Nitro-magnesia (20-0-0-8) เลี่ยงการใช้ Cl ซึ่งจะทำให้ใบอมน้ำ และได้ใบสีน้ำตาลแดง อบแล้วคุณภาพไม่ดี • P มีผลต่อ ความมันวาว ถ้าดินมี 15-20 ppm ถ้าขาดจะได้สีน้ำตาลอมเขียว • K มีผลต่อ ความยืดหยุ่น กลิ่น และความสามารถในการติดไฟถ้าขาด ถ้าพบในดินมี 60-70 ppm ก็พอ ต้องระวังไม่ให้มีส่วนประกอบของ KCl 2%

  42. ส้มเขียวหวาน • ปุ๋ยอินทรีย์ 10-20 กก./ต้น/ปี • ปูนโดโลไมท์และยิมซัมอัตราส่วน 1:1 จำนวน 2-3 กก/ต้น/1-2ปี • ตรวจสอบ P 150-200 ppm • K 60-90 ppm • ฉีดพ่นธาตุอาหารเสริมเพิ่มเติมโดยเฉพาะ Zn และ B • จัดการด้านความชื้นและการให้น้ำโดยใช้วัสดุคุลมดิน

More Related