1 / 13

ยูเจที ( UJT)

hamlin
Télécharger la présentation

ยูเจที ( UJT)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์ วงจรทริกเกอร์ วงจรกำเนิดสัญญาณฟันเลื่อย วงจรควบคุมเฟส วงจรหน่วงเวลา ส่วนประกอบของวงจรไบสเตบิล และวงจรควบคุมการจ่ายแรงดันหรือกระแส เป็นต้น UJT เป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานทั่วไป ทนกำลังไฟฟ้าต่ำ  ยูเจที (UJT)

  2. โครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจทีโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที UJT เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำชนิด 2 รอยต่อ ที่ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในสารกึ่งตัวนำชนิดไทริสเตอร์ เหมือน SCR ไตรแอกและไดแอก แต่ในการใช้งานจะต้องทำงานร่วมกับ SCR ไตรแอก และไดแอกเสมอ ขาที่ต่อออกมาใช้งานทั้ง 3 ขา มีขาเบส 1 (BASE 1) ขาเบส 2 (BASE 2) และขาอิมิตเตอร์ (EMITTER) โครงสร้างและสัญลักษณ์ของ UJT แสดงดังรูปที่ 1.1

  3. แสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจทีแสดงโครงสร้างและสัญลักษณ์ของยูเจที

  4. จากคุณสมบัติของ UJT ที่กล่าวมา เราสามารถเขียนวงจรสมมูลย์ (EQUIVALENT CIRCUIT) ของ UJT ได้เหมือนเป็นตัวต้านทานต่อร่วมกับไดโอด แสดงดังรูปที่ 1.2 วงจรสมมูลย์ของ UJT

  5. การไบอัสยูเจที การไบอัส UJT

  6. จากรูป เป็นวงจรการจ่ายไบอัสให้ UJT ทำงานแบบเบื้องต้น จะต้องจ่ายแรงดัน VBB ตกคร่อมขา B2 และขา B1 โดยให้ขา B2 มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 และจ่ายแรงดัน VE ให้ขา E และ B1 โดยให้ขา E มีศักย์เป็นบวกเทียบกับขา B1 UJT จะนำกรแสเมื่อมี IE ไหล และทำให้เกิด IB ไหล 

  7. กราฟคุณสมบัติของยูเจทีกราฟคุณสมบัติของยูเจที กราฟคุณสมบัติ ยูเจที

  8. จากรูป แสดงกราฟคุณสมบัติ ยูเจที โดยความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน กับกระแส แรงดัน ที่ป้อนให้วงจรเท่ากับ 10 V จากกราฟด้านซ้ายมือเป็นกราฟเนื่องจากการเริ่มจ่ายแรงดัน ให้ขา E เทียบกับขา B1 ถ้าแรงดัน ที่จ่ายให้ยังไม่ถึงค่า จะมีกระแสไหล ในวงจรเพียงเล็กน้อย จะเป็นค่ากระแสรั่วซึม เพราะไดโอด D ยังคงได้รับไบอัสกลับไม่นำกระแส ในส่วนนี้จะเรียกว่า ช่วงคัทออฟ (CUTOFF REGION) เมื่อเพิ่มแรงดัน จนถึงค่าแรงดัน หรือถึงค่าระดับแรงดันที่ทำให้ไดโอด D ได้รับไบอัส ตรง จะทำให้มีกระแส ไหลจากขา E ไปขา B 1 เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และในเวลาเดียวกันนั้นแรงดัน จะมีค่าลดลง แรงดัน นี้จะลดลงถึงค่า

  9. การนำยูเจทีไปใช้งาน 1. ยูเจที รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ (UJT RELAXTION OSCILLATOR) ในวงจรจะประกอบด้วยตัวต้านทาน และตัวเก็บประจุต่อเข้าที่ขา E ของ ยูเจที ทำหน้าที่เป็นวงจรตั้งเวลา ซึ่งจะมีค่าคงที่ขึ้นอยู่กับค่าความต้านทาน และค่าความจุคูณกันตัวต้านทานและตัวเก็บประจุที่ต่อกับขา E ของ ยูเจที จะเป็นตัวกำหนดเวลาในการทำงานของ ยูเจที สัญญาณที่ถูกกำเนิดขึ้นมาจะสามารถนำออกมาใช้งานได้ทั้งขา E ขา B 1 และขา B 2 วงจรรีแลกซ์เซชั่นออสซิลเลเตอร์ แสดงดังรูปต่อไป

  10. รูปวงจรและรูปสัญญาณของวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์รูปวงจรและรูปสัญญาณของวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์

  11. 2. การใช้ ยูเจที ควบคุมวงจรเร็กติไฟออร์ของ SCR เป็นวงจรที่ใช้รีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ควบคุมการเร็กติไฟออร์ของ SCR โดยควบคุมและปรับเปลี่ยนเฟสการเร็กติไฟได้ วงจรแสดงดังรูปที่ 1.6 รูปวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ควบคุมโดย UJT 

  12. จากรูป เป็นวงจรเร็กติไฟเออร์ของ SCR ถูกควบคุมเฟสการเร็กติไฟเออร์ด้วยวงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์ วงจรประกอบด้วย  เป็นตัวต้านทานจำกัดกระแสที่จะไหลผ่านซีเนอร์ไดโอด  ไม่ให้มากเกินไป  เป็นซีนเนอร์ไดโอดกำหนดค่าแรงดันจ่ายให้วงจรรีแลกเซชั่นออสซิลเลเตอร์  ,  เป็นวงจรกำหนดเวลาการทำงานของ ยูเจที ตัว  เป็นโหลดของ ยูเจที ส่งแรงดันพัลซ์บวก

  13. จบการนำเสนอ

More Related