1 / 56

แผนกลยุทธ์ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556)

แผนกลยุทธ์ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556). โดย ดร. ญาดา มุกดาพิทักษ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วันที่ 5 กรกฎาคม 2547. (ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2547).

heba
Télécharger la présentation

แผนกลยุทธ์ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนกลยุทธ์ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) โดย ดร. ญาดา มุกดาพิทักษ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วันที่ 5 กรกฎาคม 2547 (ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2547)

  2. กรอบเวลาของแผนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับแผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (2545-2549) แผนระดับชาติหลังแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ปัจจุบัน ปี พ.ศ. 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (2544-2553) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2545-2549) กรอบนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย (2547-2554) กรอบนโยบายนาโนเทคโนโลยี กรอบนโยบายเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(2547-2556)

  3. แผนกลยุทธ์ด้าน ว&ท แผน ICT แผน biotechnology แผน nanotechnology แผนโลหะและวัสดุ ผู้รับผิดชอบ คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร คณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ สถานภาพของแผนต่าง ๆ ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. อยู่ระหว่างการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ อยู่ระหว่างเสนอ ครม. กำลังจัดทำแผน

  4. กระบวนการจัดทำ แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ นรม.หรือ รองนรม.ที่ นรม.มอบหมาย(ประธาน) รมว. วท. / รมว. ทก. (รองประธาน) ปลัดกระทรวง 9 กระทรวง ผู้แทนจากองค์กรรัฐและเอกชน 10 หน่วยงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ 10 ท่าน ผู้อำนวยการ สวทช. (เลขานุการ) ผู้แทน สศช./ สป. วท./ สวทช.(ผู้ช่วยเลขานุการ) ลำดับขั้นตอนการทำงาน ม.ค.-พ.ค. 45 ประชุมเชิงปฏิบัติการ 3 ครั้ง (SWOT analysis และกรอบ ความคิดเพื่อยกร่างแผน) ระดมความคิดความต้องการว&ท ของภาคเอกชนและภาคสังคม 6 ครั้ง มิ.ย. 45 มิ.ย. 45- เม.ย.46 ยกร่างแผนกลยุทธ์ฯนำเสนอคณะ อนุกรรมการ (5 ครั้ง) กนวท. (3 ครั้ง) ปรับแก้แผนและเสนอ ครม. คณะอนุกรรมการจัดทำแผนฯ นายกอปร กฤตยากีรณ (ประธาน) นายไพจิตร เอื้อทวีกุล นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา นายโอฬาร ไชยประวัติ นายวิโรจน์ ตันตราภรณ์ นายสมภพ อมาตยกุล นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายยงยุทธ ยุทธวงศ์ ผู้อำนวยการ สวทช. (เลขานุการ) ผู้แทน สศช./ สป. วท./ สวทช.(ผู้ช่วยเลขานุการ) 13 ส.ค. 46 ครม. พิจารณาร่างแผนกลยุทธ์ฯ ปรับแผนกลยุทธ์ฯ ตามข้อเสนอแนะของ ครม. ก.ย.-พ.ย. 46

  5. ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์ฯ Input Process Output กรอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน สวทช. เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำแผนฯ โดยจะผลักดันแผนโดยใช้กลไกของ NSTC ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชุม NSTC จัดตั้งคณะอนุกรรมการฯ คณะอนุกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบแนวทางการจัดทำแผนฯ โดยใช้ SWOT Analysis หน่วยงานต่าง ๆ ส่งการวิเคราะห์ SWOT ของการพัฒนา ว&ท และขององค์กร ฝ่ายเลขาฯ ยกร่างเอกสารประกอบการประชุม Workshop 1วิเคราะห์สภาวะแวดล้อม และกำหนดเป้าประสงค์ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์หลัก) ร่างเป้าประสงค์ และ SWOT Analysis ของการพัฒนา ว&ท ของประเทศไทย

  6. Input Process Output Workshop 1วิเคราะห์สภาวะแวดล้อม และกำหนดเป้าประสงค์ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์หลัก) ร่างเป้าประสงค์ และ SWOT Analysis ของการพัฒนา ว&ท ของประเทศไทย Comment จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและคณะอนุกรรมการฯ ฝ่ายเลขาฯ ยกร่างเอกสารประกอบการประชุม กลยุทธ์การพัฒนา ว&ท และรายละเอียดแผนงาน/โครงการโดยสังเขป Workshop 2กำหนดกลยุทธ์ Comment จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและคณะอนุกรรมการฯ รายละเอียดโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฝ่ายเลขาฯ ยกร่างเอกสารประกอบการประชุม แนวทางการปรับองค์กร/กลไกการติดตามประเมินผล และหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการที่สอดรับกับแผนฯ Workshop 3แนวทางการปรับองค์กร/กลไก และการติดตามประเมินผล

  7. Input Process Output แนวทางการปรับองค์กร/กลไกการติดตามประเมินผล และหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการที่สอดรับกับแผนฯ Workshop 3แนวทางการปรับองค์กร/กลไก และการติดตามประเมินผล รายละเอียดโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่หน่วยงานส่ง เข้ามาเพิ่มเติม ความต้องการ ว&ท ในภาค เอกชน และโครงการที่ริเริ่ม โดยภาคเอกชน พิจารณาโครงการที่สอดรับกับแผนฯ โดยใช้หลักเกณฑ์ที่ได้รับความเห็นชอบจาก workshop 3 และพัฒนาเป็นโครงการขับเคลื่อนแผนชุดแรก หมายเหตุ : มีการประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้ประกอบ การในภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวด ล้อม 6 ครั้งมีการประชุมคณะอนุกรรมการ 8 ครั้งมีการประชุมผู้แทนกระทรวง 4 ครั้ง มีการประชุมคณะทำงาน 7 ครั้ง แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2549) ฉบับสมบูรณ์ นำเสนอแผนฯ ต่อ NSTC เพื่อขอความเห็นชอบ นำเสนอแผนฯ ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อขอความเห็นชอบ

  8. แนวทางการจัดทำแผนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบันแนวทางการจัดทำแผนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบัน • การใช้อุปสงค์เป็นตัวนำการพัฒนา • การมีส่วนร่วมจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย • การเลือกพัฒนาในด้านที่ประเทศมีโอกาสและศักยภาพ มิใช่การลงทุนที่กระจายในวงกว้าง • การบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ประเมินผลได้)

  9. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในต่างประเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในต่างประเทศ • มาเลเซีย: • วิสัยทัศน์: Promote S&T competence for international competitiveness while ensuring environmental conservation & sustainable development • เป้าหมาย R&D: GERD/GDP = 1.5% (ปี 2010) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :biotechnology, advanced materials, ICT, aerospace, energy • สิงคโปร์: • วิสัยทัศน์:Fostering world-class scientific research and nurturing world-class scientific talent for a vibrant knowledge-based Singapore • เป้าหมาย R&D: รัฐลงทุน S$ 4 billions (ภายในปี 2001-2005) • วิทยาศาสต์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :biotechnology, nanotechnology, ICT, manufacturing technology, material science and engineering ไต้หวัน: วิสัยทัศน์: Green Silicon Island เป้าหมาย R&D: GERD/GDP = 3% (ปี 2010) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :life science, energy, ICT,nanotechnology, environment, mechatronics system • เกาหลี: • วิสัยทัศน์: เป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศ G7 ด้าน ว&ท • เป้าหมาย R&D: GERD/GDP = 4% (ปี 2025) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :biotechnology, nanotechnology, system-on-chip design, telecommunications • จีน: • วิสัยทัศน์: frog leap development of technology • เป้าหมาย R&D: GERD/GDP = 1.5% (ปี 2005) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :biotechnology, ICT, new materials, ICT, space and aviation,advanced manufacturing technology • ญี่ปุ่น: • วิสัยทัศน์: Contribute to the World’s Scientific Knowledge, international competitiveness, sustainable development, safety and quality of life • เป้าหมาย R&D: รัฐลงทุน 24 trillion yen ใน 5 ปี • วิทยาศาสต์และเทคโนโลยีเป้าหมาย :life science, nanotechnology and materials, ICT, environmental sciences อินเดีย: วิสัยทัศน์: Frontier Science and Cutting Edge Technologies, เป้าหมาย R&D: GERD/GDP = 2% (ปี 2007)วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป้าหมาย : biotechnology, nanotechnology, space, electronics, atomic energy,oceanography

  10. Major Global Technology and Business Trends 1.อุตสาหกรรมด้าน ICT ยังคงครองอันดับหนึ่งของมูลค่าในตลาดโลก 1.1 มูลค่าตลาด ICT ของโลกในปี 2001 อยู่ที่ประมาณ 2.4 ล้านล้านเหรียญ** 1.2 นวัตกรรมที่สำคัญในอนาคตอันใกล้ได้แก่ Ultra-wideband : ความเร็ว 45 เท่าของ Wi-Fi WiMax :เครือข่ายไร้สายรัศมีเกือบ 50 กิโลเมตร RFID :ป้ายสินค้าที่แสดงหมายเลขอ้างอิงด้วยความถี่วิทยุ ซอฟต์แวร์กำจัดสแปม OLED : Organic light-emitting diodes MRAM :เร็วกว่า DRAM 10 เท่า Bioinformatics 2.5 - 2.0 - 2.อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจโลกกำลังเคลื่อนตัวไปสู่ “เศรษฐกิจโมเลกุล” (Molecular Economy) โดยมี 2 เทคโนโลยีสำคัญเป็นแรงขับเคลื่อน คือ เทคโนโลยีชีวภาพ และนาโนเทคโนโลยี 1.5 - Biotechnology* ล้านล้านเหรียญสหรัฐ 1.0 - Nanotechnology* 0.5 - | 2005 | 2010 | 2015 | 2000 source: * www.accessexcelence.org * www.researchandmarket.com and Deutsche Bank ** source: World Information Technology and Services Alliance

  11. สถานภาพของประเทศไทย innovative capacity vs. GDP per capita GERD/GDP vs. GDP per capita Source: WEF 2001-2002 Source: IMD 2003 Key S&T indicators Source: IMD 2003

  12. SWOT Analysis : S&T จุดอ่อน - จุดแข็ง

  13. อุปสรรค -โอกาส

  14. ภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ บูรณาการกับระบบเศรษฐกิจและสังคมของไทย การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน ไก่ สิ่งแวดล้อม ข้าว กุ้ง สินค้า OTOP มันสำปะหลัง ซอฟต์แวร์ Biotech อาหารสุขภาพ ไมโครชิป กำลังคน โครงสร้างพื้นฐาน ความตระหนัก missile drugs ICT มัลติมีเดีย วัสดุการแพทย์ Nanotech ตรวจกรองโรค แอนนิเมชั่น New materials วัสดุเคลือบนาโน ซิลิกอน อัลลอย เซรามิกส์ ยาง โพลีเมอร์ พลังงานสะอาด คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม สังคมเรียนรู้

  15. พัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐาน • การผลิต • พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงและ สืบแหล่งที่มา • พัฒนาระบบการจัดการ IP • มีศูนย์วิจัยเฉพาะทาง 20 แห่ง • จัดตั้ง Biopark Infrastructure & Institutions ต้วอย่าง: ภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ บูรณาการกับอุตสาหกรรมอาหาร เป็นผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อเป็นครัวของโลก Food Core Technologies Biotechnology breeding, fermentation, metabolic engineering, nutragenomics E-commerce,logistics, traceability, bioinformatics hi-throughput screening ICT active packaging, membrane, waste utilization Nanotechnology Materials technology nanobiotechnology food science,microbiology, genetics, ecology, toxicology Scientific Knowledge • พัฒนาผู้ตรวจประเมินระบบ HACCP, GMP, ISO, GHP • มีกำลังคน ว&ท ด้านอาหารไม่ต่ำกว่า • 30,000 คน โดยเป็นนักวิจัยด้านอาหาร • ไม่ต่ำกว่า 5,000 คน Education & Human resources • สร้างความตระหนักถึงความ ปลอดภัยในการบริโภค • ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดสารพิษ • ส่งเสริมให้ชุมชนใช้เทคโนโลยี • ชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์ท้องถิ่น Public awareness and support

  16. Shrimp Cluster: ตัวอย่างของบูรณาการภาคปฏิบัติ เป้าหมาย: (1) รักษาส่วนแบ่งตลาดโลกได้อย่างน้อย 30% มูลค่ามากกว่า 1 แสนล้านบาท (2) มีกำลังคน ว&ท 1,500 คนและนักวิจัย 300 คน ค่าใช้จ่าย R&D 1 ล้านบาท/คน/ปี Outcome Supply Chain S&T Effort ผลิตพ่อแม่พันธุ์ดีทดแทน การจับจากธรรมชาติได้ 50% NBC, BMC, R&D networks BROODSTOCK ศูนย์ไบโอเทค,มหาวิทยาลัย เอกชน BIOTEC โปรแกรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลูกกุ้ง ลูกกุ้งสุขภาพดี (เพิ่มอัตราการรอดให้ได้ 50%) HATCHERY & NURSERY BIOTEC, กรมประมง, มหาวิทยาลัย ฟาร์มเพาะฟัก, ฟาร์มอนุบาล โปรแกรมฝึกอบรมและให้คำปรึกษา FARMING ฟาร์มได้มาตรฐาน GAP, CoC ฟาร์มเลี้ยง,ผู้ผลิตอาหารเคมีภัณฑ์,กรมประมง,สมาคมผู้เลี้ยงกุ้ง กรมประมง กฎระเบียบและการจัดการสถานแปรรูป - โรงงานได้มาตรฐาน GMP 90% - มีนวัตกรรมอาหารพร้อมรับประทาน PROCESSING ผู้แปรรูป, โรงน้ำแข็ง, ผู้ผลิตหีบห่อ, องค์กรรับรองให้บริการมาตรฐาน, บริการขนส่ง กรมประมง, สถาบันอาหาร, สวทช. พัฒนา Intelligence Unit และนักเจรจาทางการค้า -ทราบข่าวกรองด้านตลาด -มีส่วนร่วมในการสร้างมาตรฐานสากล EXPORT ก.พาณิชย์, ก. สาธารณสุข, กรมประมง ผู้ส่งออก

  17. กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T 2013) วิสัยทัศน์: ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันได้ ในสากล มีความมั่นคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน สังคมเรียนรู้ คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม National Innovation System (Clusters) Core technologies: Human Resources 1) ICT 2) Biotechnology 3) Material Technology 4) Nanotechnology KBS Enabling Environment Core Technologies เป้าหมายโดยรวม: • สัดส่วนสถานประกอบการที่มีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น 35% และสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการที่ใช้ความรู้ (knowledge-based industries) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศสมาชิก OECD • เพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจให้แก่ท้องถิ่น • อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าจุดกึ่งกลางของ IMD

  18. วิสัยทัศน์ เป้าหมาย กลยุทธ์ มาตรการ แนวทางปฏิบัติ กลไกการบริหารแผนไปสู่การปฏิบัติ การติดตามประเมินผล องค์ประกอบของแผน • องค์ประกอบทุกส่วนต้องมีความสอดคล้องสัมพันธ์กัน • ปัจจุบันได้มีการให้ความสำคัญต่อมาตรการและแนวทางปฏิบัติว่าต้องมีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม

  19. Software & Microchip Food Auto- mobile Textile Tourism Health Bio Industry แผนกลยุทธ์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพชีวิต OTOP 1 Environment Youth The Underprivileged Core Technologies Nanotechnology Materials technology Biotechnology ICT Scientific Knowledge life science, physics, math, computer, material science สร้างความตระหนักด้าน ว&ท 2 4 3 พัฒนากำลังคน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ปรับระบบบริหารจัดการ 5

  20. กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ เศรษฐกิจชุมชน และคุณภาพชีวิต มาตรการสำคัญ แนวทางดำเนินการ ที่ทำได้ทันที • “ใช้คลัสเตอร์เป็นเครื่องมือในการเพิ่มขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและผลิตภาพภาคการผลิต ยกระดับเศรษฐกิจ ชุมชนและคุณภาพบริการทางสังคม” • เป้าหมาย • เกิดคลัสเตอร์ที่เป็นรูปธรรมในสาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ อาทิ กุ้ง ยานยนต์ ซอฟต์แวร์ เป็นต้น • ผู้ประกอบการในเครือข่ายร้อยละ 50 ยกระดับความสามารถทางเทคโนโลยีของตนขึ้น 1 ระดับ(ระดับ1:แรงงาน,ระดับ2:ทักษะ,ระดับ3:เทคโนโลยี, ระดับ4:วิจัยและพัฒนา) • พัฒนาการเชื่อมโยงและร่วมมือกันเป็นเครือข่ายในรูปคลัสเตอร์ • สร้างแรงจูงใจกระตุ้นการพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมในคลัสเตอร์ • สนับสนุนการพัฒนาคลัสเตอร์ OTOP • จัดให้มีสำนักบริหารจัดการคลัสเตอร์ โดยมอบหมายหน่วยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาแต่ละอุตสาหกรรมโดยตรง • ปรับเงื่อนไขการอุดหนุนทางการเงินและการคลัง • ให้สถาบันการศึกษาในส่วนภูมิภาคหนุนคลัสเตอร์ OTOP

  21. กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนากำลังคนด้าน ว&ท มาตรการสำคัญ แนวทางดำเนินการ ที่ทำได้ทันที • “สร้าง พัฒนา และนำเข้าบุคลากรความรู้ด้าน ว&ท เพื่อรองรับความต้องการของภาคเศรษฐกิจและสังคม และเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมความรู้” • เป้าหมาย • มีนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจำนวนมากพอในการพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับอนาคต โดยเพิ่มบุคลากรวิจัยให้ได้ไม่น้อยกว่า 10 คนต่อประชากร 10,000 คน และมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาไม่น้อยกว่า 2 ล้านบาทต่อคนต่อปี • บัณฑิตด้าน ว&ท มีคุณภาพสูงตรงตามความต้องการตลาด • ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาด้าน ว&ท ในภูมิภาคอินโดจีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • ให้สถาบันวิจัยสามารถผลิตบุคลากรระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต • นำเข้านักเทคโนโลยีจากต่างประเทศ • ให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและเอกอย่างเพียงพอ • พัฒนาโครงการวิจัยขนาดใหญ่เพื่อแก้ปัญหาด้านพลังงานในระยะยาว • ส่งเสริมเด็กอัจฉริยะโดยเพิ่มจำนวนโรงเรียนวิทยาศาสตร์และจัดตั้งมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง • ให้ทุนการศึกษาแก่นักศึกษาประเทศเพื่อนบ้าน • ขยายขอบเขตมาตรการ “ภาษีค่าใช้จ่ายฝึกอบรม 150%” ให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในต่างประเทศ • ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการรับทราบและเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ • เร่งสร้างกำลังคนระดับสูง • สร้างนักเทคโนโลยีโดยใช้กลไกโครงการวิจัยขนาดใหญ่ • พัฒนาระบบการผลิตกำลังคนรองรับการพัฒนาระยะยาว • ให้ทุนการศึกษาระดับมัธยมและปริญญาตรี • เสริมความรู้ให้นักอุตสาหกรรมให้ทันสมัยตลอดเวลา

  22. กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน มาตรการสำคัญ แนวทางดำเนินการ ที่ทำได้ทันที • “พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แรงจูงใจ และขีดความสามารถสถาบันเพื่อกระตุ้นและสนับสนุนการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม” • เป้าหมาย • ผู้ประกอบการเข้าถึงบริการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้อย่างสะดวกรวดเร็ว • มีสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยี และวัฒนธรรมผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (technopreneur) • สนับสนุนการพัฒนาความสามารถของหน่วยปฏิบัติการวิจัยเฉพาะทาง • จัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น • สนับสนุนการพัฒนาศูนย์ทดสอบ ศูนย์วิเคราะห์คุณภาพ และระบบมาตรวิทยา • ใช้กลไกตลาดภาครัฐสนับสนุนบริษัทที่มีการลงทุนด้านเทคโนโลยี • ขยายมาตรการภาษีค่าใช้จ่าย R&D 200% ให้ครอบคลุมการบริจาคและการตั้ง professor chair • ผลักดันให้เกิดโครงการที่ลงทุนด้านการพัฒนาทักษะ เทคโนโลยี และนวัตกรรมตามเงื่อนไขส่งเสริมการลงทุนใหม่ • ขยายโปรแกรมสนับสนุนเทคโนโลยีแก่อุตสาหกรรม • ปรับนโยบายและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา • พัฒนาศูนย์แห่งความเป็นเลิศที่สำคัญ: ICT, Biotech, • Nanotech,New Materials, • Life Science • พัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร์ • พัฒนาบริการเทคนิคทางด้าน ว&ท • พัฒนาระบบแรงจูงใจ

  23. กลยุทธ์ที่ 4 สร้างความตระหนักด้าน ว&ท • “กระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในความสำคัญมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ ว&ท เพื่อให้เกิดแรงสนับสนุนในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง” • เป้าหมาย • ประชาชนมีความตระหนักและมีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับว&ท • ประชาชนใช้ ว&ท ในการประกอบอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิต • ประชาชนทุกตำบลมีแหล่งเรียนรู้ด้าน ว&ท และสามารถผลิตเนื้อหาข้อมูลจากท้องถิ่นตนเองได้ มาตรการสำคัญ แนวทางดำเนินการ ที่ทำได้ทันที • กระตุ้นการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชนและประชาชน • ส่งเสริมให้นักวิทยาศาสตร์และนักการเมืองเผยแพร่ความรู้ทาง ว&ท • พัฒนาแหล่งเรียนรู้และสื่อด้าน ว&ท • เพิ่มโอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนทั่วประเทศ • สนับสนุนการแข่งขันทางวิชาการและการประดิษฐ์ • ขยายโครงการค่ายวิทยาศาสตร์ • ให้นักวิทยาศาสตร์และนักการเมืองประชาเผยแพร่ความรู้และประชาสัมพันธ์ความสำคัญของ ว&ท • สนับสนุนการสร้างศูนยการเรียนรู้ของชุมชน • เผยแพร่ความรู้และผลงานด้าน ว&ท ให้เป็นที่น่าสนใจ • ขยายบริการโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศและการสื่อสาร

  24. กลยุทธ์ที่ 5 ปรับระบบบริหารจัดการด้าน ว & ท มาตรการสำคัญ แนวทางดำเนินการ ที่ทำได้ทันที • “ปรับปรุงระบบบริหารจัดการด้าน ว&ท ให้มีเอกภาพและประสิทธิภาพสูง” • เป้าหมาย • มีระบบบริหารจัดการด้าน ว&ท ที่มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ • มีฐานข้อมูลและดัชนี ว&ท ที่ครบถ้วน ทันสมัย ได้มาตรฐานสากล และนำไปใช้อ้างอิงได้ • ผลักดันให้มีหน่วยงานกำหนดนโยบายเพียงหน่วยงานเดียว • จัดตั้งผู้บริหารวิทยาศาสตร์ระดับสูง (CSO) ประจำกระทรวงหลัก • ปรับกฎระเบียบให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนบุคลากรระหว่างภาครัฐด้วยกัน และระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนเป็นครั้งคราว • ปรับศูนย์ข้อมูลด้าน ว&ท ที่มีอยู่ให้มีบริการแบบเบ็ดเสร็จ โดยการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน • มอบหมายคณะทำงานที่มีความเชี่ยวชาญในการติดตามประเมินผลดำเนินการดังกล่าว โดยมีความเป็นอิสระ • ปรับระบบบริหารจัดการด้าน ว&ท ให้มีเอกภาพ • ปรับปรุงระบบการติดตามประเมินผลให้มีประสิทธิภาพ

  25. กลไกการบริหารแผนไปสู่การปฏิบัติกลไกการบริหารแผนไปสู่การปฏิบัติ ครม. ระดับ นโยบาย กนวท. ระดับ ผลักดันแผน • ผู้บริหารวิทยาศาสตร์ระดับสูง • ผู้แทนจากภาคเอกชน • ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานเลขานุการ กนวท. หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ระดับ ปฏิบัติ คณะทำ งาน เฉพาะกิจ

  26. ข้อมูลประกอบ

  27. 1. Cluster in Action

  28. Food เป็นผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อเป็นครัวของโลก Auto- mobile เป็นฐานการผลิตยานยนต์พาณิชย์ จักรยานยนต์ และชิ้นส่วนของโลก • มูลค่าตลาดในประเทศ 90,000 ล้านบาทในปี 2549 • มูลค่าซอฟต์แวร์หรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อการส่งออกเป็นร้อยละ 75 ของมูลค่าตลาด Software • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าไทยมีการผลิตระดับต้นน้ำ • มีการออกแบบและสามารถผลิตไมโครชิปชั้นสูงเพื่อใช้ในประเทศ • เช่น สมาร์ทการ์ด เป็นต้น Microchip Textile เป็นศูนย์กลางสิ่งทอ high end ในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และโบราณคดี ติดอันดับ 1 ใน 3 ของเอเชีย Tourism Health เป็นศูนย์กลางการบริการด้านสุขภาพในภูมิภาคเอเชีย สินค้า OTOP ที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ร้อยละ 80 ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP เพิ่มความสามารถในการจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ท้องถิ่น Social Well-being

  29. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society เป็นผู้นำในการพัฒนานวัตกรรมอาหารเพื่อเป็นครัวของโลก Food Core Technologies breeding, fermentation, metabolic engineering, nutragenomics Biotechnology E-commerce,logistics, traceability, bioinformatics hi-throughput screening ICT packaging, membrane, waste utilisation Nanotechnology Materials technology nanobiotechnology food science,microbiology, genetics, ecology, toxicology Scientific Knowledge • พัฒนาผู้ตรวจประเมินระบบ HACCP, GMP, ISO, GHP • มีกำลังคน ว&ท ด้านอาหารไม่ต่ำกว่า • 30,000 คน โดยเป็นนักวิจัยด้านอาหาร • ไม่ต่ำกว่า 5,000 คน Education & Human resources • สร้างความตระหนักถึงความ ปลอดภัยในการบริโภค • ส่งเสริมการผลิตอาหารปลอดสารพิษ • ส่งเสริมให้ชุมชนใช้เทคโนโลยี • ชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์ท้องถิ่น Public awareness and support Infrastructure & Institutions • พัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐาน • การผลิต • พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงและ สืบแหล่งที่มา • พัฒนาระบบการจัดการ IP • มีศูนย์วิจัยเฉพาะทาง 20 แห่ง • จัดตั้ง Biopark

  30. Shrimp Cluster: ตัวอย่างของบูรณาการภาคปฏิบัติ เป้าหมาย: (1) รักษาส่วนแบ่งตลาดโลกได้อย่างน้อย 30% มูลค่ามากกว่า 1 แสนล้านบาท (2) มีกำลังคน ว&ท 1,500 คนและนักวิจัย 300 คน ค่าใช้จ่าย R&D 1 ล้านบาท/คน/ปี Outcome Supply Chain S&T Effort ผลิตพ่อแม่พันธุ์ดีทดแทน การจับจากธรรมชาติได้ 50% NBC, BMC, R&D networks BROODSTOCK ศูนย์ไบโอเทค,มหาวิทยาลัย เอกชน BIOTEC โปรแกรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลูกกุ้ง ลูกกุ้งสุขภาพดี (เพิ่มอัตราการรอดให้ได้ 50%) HATCHERY & NURSERY BIOTEC, กรมประมง, มหาวิทยาลัย ฟาร์มเพาะฟัก, ฟาร์มอนุบาล โปรแกรมฝึกอบรมและให้คำปรึกษา FARMING ฟาร์มได้มาตรฐาน GAP, CoC ฟาร์มเลี้ยง,ผู้ผลิตอาหารเคมีภัณฑ์,กรมประมง,สมาคมผู้เลี้ยงกุ้ง กรมประมง กฎระเบียบและการจัดการสถานแปรรูป - โรงงานได้มาตรฐาน GMP 90% - มีนวัตกรรมอาหารพร้อมรับประทาน PROCESSING ผู้แปรรูป, โรงน้ำแข็ง, ผู้ผลิตหีบห่อ, องค์กรรับรองให้บริการมาตรฐาน, บริการขนส่ง กรมประมง, สถาบันอาหาร, สวทช. พัฒนา Intelligence Unit และนักเจรจาทางการค้า -ทราบข่าวกรองด้านตลาด -มีส่วนร่วมในการสร้างมาตรฐานสากล EXPORT ก.พาณิชย์, ก. สาธารณสุข, กรมประมง ผู้ส่งออก

  31. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society Auto- mobile เป็นฐานการผลิตยานยนต์พาณิชย์ จักรยานยนต์ และชิ้นส่วนของโลก Core Technologies Biotechnology biodegradable plastic E-commerce, logistics, automation, automotive electronics, CAD/CAM/CAE, embedded software Materials technology ICT composite materials, metal & alloy, ceramic, rubber, mold & die Nanotechnology Self-repaired part material science, metallurgy, thermodynamics, dynamics Scientific Knowledge • พัฒนาระบบ E-industry • จัดตั้งศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์และรับรองคุณภาพ • จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ยานยนต์ (เครื่องยนต์ แม่พิมพ์) • พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน เช่น แม่พิมพ์ machine tools เหล็กแผ่น/ เหล็กหล่อ • พัฒนาวิศวกรและนักออกแบบด้าน ยานยนต์ • พัฒนาหลักสูตรยานยนต์ร่วมระหว่าง • สถาบันศึกษาและโรงงาน • มีนักวิจัยด้านยานยนต์เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า • 1,000 คน • ผลิตวิศวกรป้อนอุตสาหกรรม 4,000 คน • สร้างความตระหนักให้ผู้บริโภค ใช้ผลิตภัณฑ์และชิ้นส่วนใน • ประเทศที่มีคุณภาพ • ส่งเสริมให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยร่วม มือกันพัฒนาสินค้ามาตรฐานและ ยกระดับความสามารถในการ ออกแบบ Education & Human resources Public awareness and support Infrastructure & Institutions

  32. Outcome S&T Effort การมีอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนที่เข้มแข็ง ยกระดับความสามารถในการออกแบบและการผลิต • การพัฒนาเทคโนโลยีพื้นฐานเพื่อ SME’s • Supply Chain Development • การพัฒนาและการจัดการและเทคโนโลยีการออกแบบ การผลิตและการทดสอบ • พัฒนามาตรฐาน • จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนายานยนต์ • การพัฒนาเทคโนโลยีการทดสอบ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ มีการทำวิจัยและพัฒนาการออกแบบและกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ - ยกระดับคุณภาพ มาตรฐานสินค้าและมีความปลอดภัยในการใช้งาน - ผลิตสินค้าที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - พัฒนาชิ้นส่วนในเชิงพาณิชย์ -ผู้ผลิตชิ้นส่วนสามารถทำ R&D ด้วยตนเอง -มีความร่วมมือในเครือข่ายเพื่อการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกัน - มีปริมาณการผลิตชิ้นส่วนในประเทศมากขึ้น สถาบันยานยนต์, สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, DIP ,BSID , TSAE, BOI,MTEC, NECTEC,สถาบันการศึกษา TAIA,TAPMA, FTI etc. - บุคลากรมีความสามารถในการวิจัยและพัฒนา - บุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพียงพอกับความต้องการของอุตสาหกรรม - มีหลักสูตรการพัฒนาวิศวกรและช่างฝึมือ - ส่งเสริมผู้ผลิต SME’s ให้มีศักยภาพ - พัฒนาชิ้นส่วนสำคัญที่มีเทคโนโลยีระดับสูงได้ในประเทศ REM Assemblers OEM ตัวอย่าง Cluster in Action: Automotive Cluster เป้าหมาย: (1) เป็นฐานการผลิตยานยนต์ในเอเชีย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศ (2) มีนักวิจัยด้านยานยนต์เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่า 1,000 คน Supply Chain Raw Material Suppliers เครื่องหนัง, ยาง, พลาสติก, เหล็ก Supporting Industries mold/die and tools 2nd /3rd tier suppliers 1st tier suppliers

  33. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society • มูลค่าตลาดในประเทศ 90,000 ล้านบาทในปี 2549 • มูลค่าซอฟต์แวร์หรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อการส่งออกเป็นร้อยละ 75 ของมูลค่าตลาด Software Core Technologies Nanotechnology Biotechnology web service, security,wireless, broadband, embedded sw, ERP, AI computer arts, CAD/CAM Materials technology ICT Scientific Knowledge information theory, human interface, software engineering and architecture, grid computing information theory, human interface, software engineering, solid state physics • กระตุ้นให้ประชาชนและหน่วย งานต่าง ๆ ใช้ซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์ และสินค้าที่ผลิตในประเทศ • ส่งเสริมการใช้ open source software • SIPA กระตุ้นการขยายอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ • เพิ่ม Software Parkเพื่อเป็นศูนย์บ่มเพาะ นักพัฒนาซอฟต์แวร์และ one stop service • จัดตั้งหน่วยรับรองมาตรฐานซอฟต์แวร์ • ศูนย์จัดหา knowledge worker ในต่างประเทศ Public awareness and support • มีบุคลากรด้าน software • 70,000 คนในปี 2549 • ฝึกอบรมนักพัฒนาซอฟต์แวร์ Infrastructure & Institutions • Center of Excellence Education & Human resources

  34. พัฒนาหลักสูตร ส่งเสริมการเรียนรู้ สร้างมาตรฐานการถ่ายทอดเทคโนโลยี กระจายสื่อการสอนแบบเปิดสู่สถาบันการศึกษา SIPA, NSTDA กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันการศึกษา Outcome S&T Effort • หลักสูตรได้มาตรฐาน มีคุณภาพ • หลักสูตรที่สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิต • บุคลากรมีศักยภาพในการพัฒนาตนเองใหเก้าวทันเทคโนโลยีใหม่ๆ งานค้นคว้า/วิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยีขั้นสูงยุคใหม่ ฐานข้อมูลงานวิจัย ศูนย์องค์ความรู้ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ คลังข้อมูลผู้ชำนาญการฯ บุคลากรเพื่องานวิจัย/พัฒนา บุคลากรระดับบริหารและปฏิบัติงาน Software engineers, architects, system analysts, programmers ผู้ชำนาญการเฉพาะทางเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ SIPA, NSTDA สถาบันการศึกษา • สร้างบุคลากรระดับมืออาชีพด้าน ICT • สามารถป้อนบุคลากรสู่ภาคการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ทันต่อความต้องการ • ส่งเสริมการพึ่งพาตนเองด้านซอฟต์แวร์ • สร้างประสบการณ์และความชำนาญในการพัฒนาซอฟต์แวร์ • สร้างงาน สร้างโอกาสให้ SME ส่งเสริมการพัฒนาและการใช้ซอฟต์แวร์เพื่องานพื้นฐานและงานสนับสนุน การรับรองมาตรฐานซอฟต์แวร์ SIPA, NSTDA , ATCI, ATSI, BOI, สถาบันการเงิน ภาครัฐ ภาคเอกชน • ลดการนำเข้าซอฟต์แวร์ราคาสูงจากต่างประเทศ • สร้างอุตสาหกรรมใหม่ที่ใช้ความรู้เป็นฐานการผลิต เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมและเอื้ออำนวยการทำธุร กรรมร่วมระหว่างองค์กร สร้างความร่วมมือพหุภาคีเพื่อการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิง Service-Oriented ใช้ความรู้ขั้นสูงและเทคโนโลยีสมัยใหม่ SIPA, NSTDA, ATCI, ATSI, BOI, สถาบันการเงิน ภาครัฐ ภาคเอกชน สร้างอุปสงค์ให้ภาคการผลิตอย่างต่อเนื่อง สร้างงานขนาดใหญ่จากภาครัฐ ป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ road show สู่ต่างประเทศ • เปิดโอกาสการให้บริการไร้พรมแดน การร่วมลงทุนกับต่างประเทศ • สร้างพลวัตรและสร้างนวัตกรรมให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการเงิน ก. ICT ก.พาณิชย์ ก.อุตสาหกรรม ก.ยุติธรรม ก.มหาดไทย ตัวอย่าง Cluster in Action: Software Cluster เป้าหมาย: (1) มูลค่าตลาดในประเทศ 90,000 ล้านบาทในปี 2549 และมีศักยภาพในการทำตลาดต่าง ประเทศเป็น 4 เท่าของตลาดในประเทศ (2) มีกำลังคนด้านซอฟต์แวร์ 70,000 คนในปี 2549 Supply Chain หลักสูตร การเรียน/การสอน ความสามารถทางภาษา หลักสูตร computer science, software engineering, software architecture, พัฒนาพื้นฐานภาษาอังกฤษด้าน ICT การพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่องานพื้นฐาน และงานสนับสนุน ซอฟต์แวร์เอื้ออาทร ระบบงานพื้นฐาน/สนับสนุนด้านต่างๆ open source software/tools/materials การพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่องานเฉพาะด้าน งานธุรกรรมร่วมระหว่างองค์กร ซอฟต์แวร์ระบบงานซับซ้อนเฉพาะด้าน ระบบงานที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงยุคใหม่ development tools, Web services, collaborative software Local and Overseas Customers ลูกค้าภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา e-Commerce e-Services

  35. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society • อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าไทยมีการผลิตระดับต้นน้ำ • มีการออกแบบและสามารถผลิตไมโครชิปชั้นสูงเพื่อใช้ในประเทศ • เช่น สมาร์ทการ์ด เป็นต้น Microchip Core Technologies Biotechnology • Product Design Technology • Embedded System • Microchip design and manufacturing ICT • advanced ceramics and polymers Nanotechnology Materialstechnology • nanoelectronics • nanomaterials • nanobiotechnology Scientific Knowledge solid state physics, semiconductor physics chemistry, molecular biology, quantum mechanics • กระตุ้นให้ภาคเอกชนและหน่วยงานต่าง ๆ มีความสนใจในการผลิตและใช้ ไมโครชิปที่ผลิตในประเทศ Infrastructure & Institutions • Multi-Project Chip fabrication service • Thailand Microelectronics Center (TMEC) • Thailand IC Design Incubator (TIDI) • Thailand Embedded System Association Public awareness and support Education & Human resources • ผลิตบุคลากรด้านอิเล็กทรอนิกส์ชั้นสูงปีละ • ประมาณ 3,000 คน • TMEC ผลิตบุคลากร microelectronics ปีละ • ประมาณ 80 คน

  36. ตัวอย่าง Cluster in Action: Microchip Cluster เป้าหมาย: (1) ยกระดับมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ E&E ที่ผลิตในประเทศจาก 30% เป็นมากกว่า 50% (~ 2 แสนล้านบาท) (2) ผลิตกำลังคน ว&ท สำหรับอุตสาหกรรมไมโครชิปปีละ 1,000 (รองรับการเกิดของโรงงาน 1-2 โรงต่อปี) Supply Chain S&T Effort Outcome เกิดอุตสาหกรรมออกแบบ IC สร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศมากกว่า 3,000 ล้านบาท/ปี พัฒนาหลักสูตรการออกแบบ IC และ Prototyping IC Design TIDI, มหาวิทยาลัย บริษัทเอกชน (อาทิ Silicon Craft, Digital Gateway) โครงสร้างพื้นฐาน (คลีนรูม ระบบก๊าซและน้ำ) Wafer Fabrication เกิดอุตสาหกรรม Wafer Fabrication สร้างรายได้ไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาท/ปี Candidates จากภาคเอกชน (อาทิ Philips, Infineon, Oki) TMEC IC Packaging and Testing ลดต้นทุนการผลิต (logistics) ได้ 10% บริษัทเอกชนทั้ง MNCs และนักลงทุนท้องถิ่น ส่งเสริมการลงทุนและพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีของนักลงทุนท้องถิ่น End Users “Clustering effect” ทำให้อุตสาหกรรมปลายน้ำมีความยั่งยืน BOI, NSTDA บริษัทเอกชนในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น บริการ เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ ของเล่นอิเล็กทรอนิกส์ และ Smart card เป็นต้น

  37. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society Textile เป็นศูนย์กลางสิ่งทอ high end ในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ Core Technologies fiber synthesis, dyeing and finishing, machine and tools, technical textile • nanomaterials silkworm strain development, natural fiber Materials technology ICT E-commerce,logistics, fabric design, ERP, embedded software Nanotechnology Biotechnology nanoscience, chemistry, polymer science Scientific Knowledge • กระตุ้นให้ผู้ประกอบการใช้เทคโนโลยี สะอาด • ส่งเสริมให้ประชาชนนิยมตราสินค้าไทย และผ้าไทย • ประกวดบริษัทสิ่งทอดีเด่น • พัฒนานักเทคโนโลยีเส้นใยและนักออกแบบ เครื่องนุ่งห่ม • ให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและ บริหารหลักสูตรสิ่งทอ • ถ่ายทอดความรู้จากบริษัท LSEs ไปยัง SMEs • ให้มีหลักสูตรสหกิจ • พัฒนาเครือข่ายข้อมูลด้านเทคโนโลยี การตลาด การผลิต และเทคโนโลยี • จัดทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์สิ่งทอ • สร้างโรงงานต้นแบบขนาดเล็ก • ศูนย์พัฒนาตัวอย่าง และต้นแบบผลิตภัณฑ์ • Sizing Center • ศูนย์บริการและฝึกอบรมซอฟต์แวร์สิ่งทอ Education & Human resources Infrastructure & Institutions Public awareness and support

  38. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และโบราณคดี ติดอันดับ 1 ใน 3 ของเอเชีย ท่องเที่ยว Core Technologies เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบจัดการของเสีย/มลพิษในโรงแรม/ที่พัก/การเดินทาง /การจัดการน้ำ/ไฟฟ้า Biotechnology • การบูรณะโบราณสถาน เช่น แนนักติโลซิส • การพัฒนาผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในการท่องเที่ยว เช่น พลาสติกเลียนแบบธรรมชาติ กระดาษ recycle Materials technology • ระบบตรวจสอบคนเข้าเมือง • ระบบการ link การจองตัว, book โรงแรม • เทคโนโลยีการสื่อสาร ดาวเทียม • ระบบควบคุมการจราจรทาง อากาศ ICT Nanotechnology ecology, biodiversity, environmental science, geography, archeology, anthropology, sociology Scientific Knowledge • การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ จัดการการท่องเที่ยว และดูแลรักษา ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้ยั่งยืน • นักจัดการการท่องเที่ยวที่มีทักษะด้าน tourism management 300 คน • หลักสูตรการจัดกาาการท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์ โบราณคดี และวัฒนธรรม • ระบบข้อมูลการท่องเที่ยวทั้งระดับชาติ และระดับท้องถิ่น • ระบบสนับสนุนเพื่อการขุด/ค้นหาและ อนุรักษ์แหล่งทรัพยากรโบราณคดีและ ความหลากหลายทางชีวภาพ • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นรูปแบบต่าง ๆ Infrastructure & Institutions Public awareness and support Education & Human resources

  39. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society สุขภาพ เป็นศูนย์กลางการบริการด้านสุขภาพในภูมิภาคเอเชีย Core Technologies medical matierials Materials technology Nanotechnology neutraceutical foods, herbal medicine, pharmacogenomics Biotechnology medical image processing, health care information system ICT life science, herbal medicine, toxicology, ecology Scientific Knowledge • พัฒนาระบบประเมินและกำหนด มาตรฐานสมุนไพร โรงพยาบาล สถาน ดูแลผู้สูงอายุให้ได้มาตรฐานสากล • พัฒนา Life Science Center • ์ ศูนย์กลางการฝึกอบรมบุคลากรด้าน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ • ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการรู้ถึง โอกาสการทำธุรกิจ Infrastructure and Institutional support Education & Human resources Public awareness and support

  40. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) เศรษฐกิจ สังคม • พัฒนาธุรกิจชีวภาพสมัยใหม่ สร้างรายได้รวมกันไม่น้อยกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี • เพิ่มประสิทธิภาพเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบันให้ลดต้นทุนได้ครึ่งหนึ่ง • เพิ่มการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ อุตสาหกรรม ชีวภาพ เทคโนโลยีหลัก membrane, capsule Materials technology Nanotechnology Bionanopartele synthesis and application Biotechnology DNA fingerprinting, drugdelivery system, genetherapy, protein engineering bioinformatics, health-care personal information system (smart card), high throughput screening ICT Proteomics, pharmacogenomics, molecular biology and genetics, biophysics, immunology Scientific Knowledge Infrastructure and Institutional support Public awareness and support • สร้าง bio-park หรือ bioincubator • พัฒนา life science centre for excellence • ส่งเสริม TNCs ลงทุน R&D ในไทย • พัฒนา venture capital • ์นำเข้าบุคลากรความรู้ • สร้าง bio-entrepreneurs • สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ แก่ประชาชน • ระบบปกป้องสิทธิข้อมูลพันธุกรรม ส่วนบุคคล Education & Human resources

  41. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society OTOP สินค้า OTOP ที่ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการอำนวยการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ร้อยละ 80 ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน Core Technologies Biotechnology fermentation, herbal characterisation computer aided design,E-commerce ICT packaging, natural dyeing, ceramics Nanotechnology Materials technology Scientific Knowledge food science, microbiology, material science • ์ • พัฒนาแนวคิดด้านนวัตกรรมและ ส่งเสริมให้ประชาชนเป็นผู้ประกอบการ • จัดอบรมด้าน GHP • มีเครือข่ายศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน • ขยาย Internet ชุมชน, E-commerce • ส่งเสริม IP สำหรับภุมิปัญญาไทย • พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาไทย • สร้างความเชื่อมั่นในสินค้า จากภูมิปัญญาไทย • ส่งเสริมให้ชุมชนใช้ ว&ท ในการยกระดับคุณภาพสินค้า Public awareness and support Education & Human resources Infrastructure & Institutions • ขยายกิจกรรมคลีนิค เทคโนโลยี

  42. กรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอบแผนกลยุทธ์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547 – 2556) Economy Society Social Well-being เพิ่มความสามารถในการจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ท้องถิ่น Environment Youth TheUnderprivileged Core Technologies Biotechnology ICT internet, telecommunications, E-commerce recyclable material, solar cell, fuel cell, biomaterial Materials and Nanotechnology Nanotechnology Biocontrol Bioenergy biodiversity, ecology, medical science, ergonomics Scientific Knowledge • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเละ เครือข่ายโทรคมนาคม • พัฒนาระบบบริการ on-line • พัฒนาระบบ E-government, • E-health • สร้างความรู้ความเข้าใจในหลัก การวิทยาศาสตร์พื้นฐานเพื่อใช้ ประโยชน์ในการดำรงชีวิต และขจัดความเชื่อที่ผิด ๆ • ์ • พัฒนาการศึกษาทั่วประเทศให้มี คุณภาพ E-learning, E-education • พัฒนาสื่อการเรียนการสอน • ส่งเสริมให้เยาวชนมีทักษะใน 2 ภาษา Public awareness and support Infrastructure & Institutions Education & Human resources

  43. 2. กำลังคนด้าน ว&ท

  44. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก ปีการศึกษา 2542-2543 ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ

  45. เปรียบเทียบกำลังการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาเอกเปรียบเทียบกำลังการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาเอก ที่มา : Science & Engineering Indicators 2002 และกระทรวงศึกษาธิการ

  46. พยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้าน ว&ท สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ปี 2556 Growth rate กำลังคนด้าน ว&ท อาหาร1 10% 25,549 คน (2556) ยานยนต์1 12% 34,532 คน (2556) ซอฟต์แวร์2 >30% 70,000 คน (2549) ไมโครชิป3 17% 30,000 คน (2556) สิ่งทอ1 12% 12,411 คน (2556) หมายเหตุ: 1. สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2. องค์กรส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (SIPA) 3. ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC)

  47. พยากรณ์ความต้องการกำลังคนด้าน ว&ท สำหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ปี 2556 หมายเหตุ: คำนวณจากฐานข้อมูลเดิมของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

  48. 3. Center of Excellence

  49. ศูนย์แห่งความเป็นเลิศในประเทศไทยศูนย์แห่งความเป็นเลิศในประเทศไทย (Center of Excellence : CoE) • สถานภาพปัจจุบัน • ยังไม่มีการให้คำนิยามที่ชัดเจน โดยทั่วไปมักจะเข้าใจว่าเป็นศูนย์วิจัย เฉพาะทางด้านใดด้านหนึ่ง ที่มีความล้ำหน้าในเรื่องนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น สถาบันวิจัยที่ทำงานวิจัยพื้นฐานหรือทฤษฎี และสถาบันที่วิจัยที่ทำงานวิจัย ครอบคลุมผลิตภัณฑ์หรืออุตสาหกรรม • ยังไม่มีนโยบายหรือมาตรการให้การสนับสนุนการดำเนินงานของ CoE • จากรัฐบาล • ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยเฉพาะทางอาจจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ • 1) ศูนย์วิจัยที่ทำวิจัยเพียงอย่างเดียว • 2) ศูนย์วิจัยที่ให้บริการด้านการวิเคราะห์ทดสอบด้วย

  50. ศูนย์แห่งความเป็นเลิศในประเทศไทยศูนย์แห่งความเป็นเลิศในประเทศไทย (Center of Excellence : CoE) • สถาบันวิจัยเฉพาะทางในมหาวิทยาลัย • จุฬาลงกรณ์:มีจำนวน 20 แห่ง เน้นงานวิจัยในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์ เทคโนโลยีชีวภาพ วัสดุศาสตร์ (สิ่งทอ) และงานวิจัยพื้นฐาน • มหิดล :มีจำนวน 14 แห่ง เน้นงานวิจัยด้านการแพทย์ และเทคโนโลยีชีวภาพ • เกษตรศาสตร์ :มีจำนวน 24 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาเกษตร • เชียงใหม่ :มีจำนวน 3 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาเกษตร พลังงาน วัสดุศาสตร์ life science เทคโนโลยีชีวภาพ • ขอนแก่น:มีจำนวน 7 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร การแพทย์ • สงขลานครินทร์ : มีจำนวน 7 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาทรัพยากรทางทะเล สิ่งแวดล้อม วิศวกรรมชีวการแพทย์ การเกษตร • KMITL: มีจำนวน 4 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาวิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ IT • เทคโนโลยี การเกษตร • KMUTT:มีจำนวน 3 แห่ง เน้นงานวิจัยสาขาวัสดุศาสตร์ (พอลิเมอร์) อุตสาหกรรมการ เกษตรและชีวเคมีสถาบันวิจัยเฉพาะทางใน สวทช. • มีจำนวน 94 แห่ง เน้นงานวิจัยในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ โลหะและวัสดุศาสตร์ คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์

More Related