1 / 92

แนวคิดในการจัดการศึกษายุคใหม่

แนวคิดในการจัดการศึกษายุคใหม่. โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันพุธที่ 20 มิถุนายน 2550 เวลา9.30-11.30น. โรงแรมรอยัลภูเก็ต www.charuaypontorranin.com. ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่.

hedy
Télécharger la présentation

แนวคิดในการจัดการศึกษายุคใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดในการจัดการศึกษายุคใหม่แนวคิดในการจัดการศึกษายุคใหม่ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ วันพุธที่ 20 มิถุนายน 2550 เวลา9.30-11.30น. โรงแรมรอยัลภูเก็ต www.charuaypontorranin.com

  2. ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ • โรงเรียนแห่งอนาคต(ห้องเรียนแบบใหม่ที่ทั้งครูและนักเรียนใช้เทคโนโลยีช่วย/นักเรียนมีวิธีเรียนเฉพาะตัว) • ต้องสนองความต้องการ(ฝ่ายจัดต้องปรับนโยบายตามที่ลูกค้าสนใจ/ต้องทำการตลาด/ผู้จัดต้องแข่งขันกัน

  3. ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ • มีการปรับหลักสูตรขนานใหญ่(ให้เหมาะโลกอุตสาหกรรม/ต้องสมดุลระหว่างสังคมฐานความรู้กับสังคมสมานฉันท์) • ทุกอย่างเรียกร้องคุณภาพ(ประสิทธิภาพ/ความรับผิดชอบ /ใช้เทคโนโลยีช่วยสอน เทคโนโลยีจะไม่แทนที่ครู แต่ครูไม่มีเทคโนโลยีจะถูกแทนที่โดยครูที่มีเทคโนโลยี) **ต้องทำงานประสานเครือข่ายกว้างขึ้น(เครือข่ายแลกนวัตกรรม/แลกเปลี่ยนตัวต้นแบบ /ทำงานอย่างประสานผล ประโยชน์ที่ลงตัว

  4. กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคมกระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม • 1. ใช้การรณรงค์สร้างกระแสสังคมผ่านสื่อ(AIR WAR) • 2. จัดกิจกรรมที่สนับสนุนเรื่องที่กำลังสร้างกระแส (GROUND WAR) • 3.เปิดเวทีสาธารณะให้ทุกฝ่ายมีโอกาสร่วมเสนอแนะ โดยมี ผู้ประสานหรือผู้ทรงคุณวุฒิให้คำปรึกษา • 4.จัดตั้งเครือข่ายจากผู้มีผลประโยชน์ร่วม(STAKE HOLDERS) • 5. รายงานผลทุกระยะเพื่อให้รู้ความก้าวหน้าและความสำเร็จ • 6. เลือกกิจกรรมที่สำเร็จได้เร็วและเห็นจริงในช่วงเริ่มงานเพื่อสร้างกำลังใจ(QUICK WIN)

  5. แนวโน้มการจัดการศึกษายุคใหม่: การใช้สถานศึกษาเป็นฐานสร้างชุมชนเข้มแข็ง(Whole School Approach +Community-Based Development Approach • 1..ตกลงหลักการทำงานร่วมกันก่อนทำงาน คือตั้งใจมุ่งมั่น+ทุกฝ่ายทำร่วมกัน+เกื้อกูลสู่เป้าหมายเดียวกัน • 2.มียุทธศาสตร์ขับเคลื่อนด้วยกระบวนการสังคม+ใช้ชุมชนเป็นตัวตั้งโดยสถานศึกษาประสาน+เชื่อมโยงทุกระดับ+มีการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากพื้นที่ต้นแบบ

  6. การใช้สถานศึกษาเป็นฐานสร้างชุมชนเข้มแข็ง ( Whole School for Community-Based Development Approach • 3.สร้างชุมชนให้เข้มแข็งโดยสร้าง 5ก คือ แกนนำ+กลไกการจัดการ+กองทุน +กลุ่มเข้มแข็ง+กิจกรรม • 4.การสร้างการมีส่วนร่วมให้ 5ร่วม คือ ร่วมวางแผน+ร่วมลงมือทำ+ร่วมแก้ปัญหา+ร่วมผลประโยชน์+ร่วมติดตาม

  7. ภาพความสำเร็จในการพัฒนาเด็ก(40 Developmental Assets) (หมวด1)ได้รับการสนับสนุน1.ครอบครัวสนับสนุน 2.สื่อสาร เชิงบวกในครอบครัว3. มนุษย์สัมพันธ์บุคคลทั่วไป 4.เพื่อนบ้านดี 5.บรรยากาศโรงเรียนอบอุ่น 6. พ่อแม่ดูแลการเรียน (หมวด2)ได้รับบทบาทสำคัญ7. ผู้ใหญ่ในชุมชนเห็นคุณค่า 8. ได้รับมอบทำกิจกรรมเป็นประโยชน์ต่อชุมชน 9. บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม 10. รู้สึกอบอุ่นปลอดภัย (หมวด3)มีผลงานตามความคาดหวัง11. ครอบครัวมีวินัย 12. โรงเรียนมีวินัย 13.ชุมชนแวดล้อมมีวินัย 14. ผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดี 15.กลุ่มเพื่อนเป็นแบบอย่างที่ดี 16.รู้จักใช้ใช้เวลา17. ทำกิจกรรมสร้างสรรค์18. ร่วมกิจกรรมทั่วไป 19. ร่วมกิจกรรมศาสนา20. ใช้เวลาเป็นสุขที่บ้าน

  8. ภาพความสำเร็จในการพัฒนาเด็ก(40 Developmental Assets) (หมวด4)มุ่งมั่นเรียนรู้21. มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์22. เอาใจใส่การเรียน 23. ทำการบ้าน24. ผูกพันกับโรงเรียน 25.รักอ่านหนังสือ (หมวด5)สร้างคุณค่าให้ตนเอง26. ช่วยเหลือผู้อื่น27. รักความยุติธรรมไม่แบ่งชนชั้น 28. มีจุดยืนชัดเจน29. ซื่อสัตย์ 30.มีความรับผิดชอบ 31.มีวินัยตนเองไม่ทำเรืองเสี่ยง (หมวด6)สามารถอยู่ร่วมในสังคม32. รู้จักวางแผนและตัดสินใจ 33. ทักษะในการคบเพื่อน 34. ทักษะเชิงวัฒนธรรม 35. ทักษะในการ ปฏิเสธ 36.ทักษะแก้ความขัดแย้ง (หมวด7)ทัศนะเชิงบวกต่อตนเอง37. ควบคุมตนเองได้ 38. รู้สึกตัวเองมีศักดิ์ศรี39. รู้สึกชีวิตมีความหวัง 40. มีเป้าหมายในชีวิตที่ดี

  9. สหรัฐเน้น พ.ร.บ. การศึกษาสำหรับทุกคน พ.ศ. 2543The No Child Left Behind Act of 2001 • (1) เน้นให้ทุกมลรัฐ(States) ต้องจัดการศึกษาสำหรับเด็กทุกคนอย่างทั่วถึง ถือเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา (School Districts) รับเด็กในเขต ไม่ทอดทิ้งเด็กให้ไร้การศึกษา • (2) แต่ละมลรัฐต้องร่วมพัฒนาสถานศึกษา โดยมีแผนยุทธศาสตร์และการวิจัยพัฒนาติดตามรายงานผล • (3) เน้นการพัฒนาการเรียนการสอนโดยบริการฐานข้อมูลสำหรับครูและผู้บริหารสถานศึกษา • (4) พัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครู

  10. The No Child Left Behind Act of 2001 • (5) อุดหนุนงบประมาณจากภาษีส่วนกลางและภาษีรัฐ เฉลี่ยเงินอุดหนุนรายหัวนักเรียนรัฐ 8,200 เหรียญ(287,000 บาท)ต่อคน รัฐบาลกลางจัดเงินงบประมาณ 24.4 ล้านล้านเหรียญ ในปีการศึกษา 2549 สนับสนุนมลรัฐและเขตพื้นที่การศึกษา ไม่อุดหนุนโรงเรียนเอกชน • (6) พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้ฐานข้อมูลจากงานวิจัยและพัฒนา • (7) สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โดยมีการรายงานผลการพัฒนานักเรียน และสร้างทางเลือกให้ผู้ปกครองที่มีความต้องการพิเศษ เช่น ต้องย้ายสถานศึกษา ครอบครัวมีรายได้ต่ำ และ • (8) สนับสนุนให้รัฐและเขตพื้นที่การศึกษามีอิสระในการบริหารงานให้คล่องตัวและให้ครูได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

  11. ตารางที่1จำนวนนักเรียนครูสถานศึกษาปี2548-2549 ของสหรัฐ 1. นักเรียนและประถมและมัธยม 54 ล้านคน 2. อัตราส่วนนักเรียนต่อประชากรวัยเรียน 6-17 ปี 98% 3. ครูประถมและมัธยมทั้งโรงเรียนของรัฐและเอกชน 3.4 ล้านคน 4. โรงเรียนของรัฐทั้งประถมและมัธยม 96,000 โรง 5. โรงเรียนเอกชนทั้งประถมและมัธยม 29,000 โรง 6. สัดส่วนนักเรียนเข้าเรียนโรงเรียนเอกชนต่อโรงเรียนรัฐ 12% 7. อัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวเฉพาะโรงเรียนรัฐ 8,200 เหรียญ (287,000 บาท) 8. เขตพื้นที่การศึกษา 15,000 แห่ง 9. วิทยาลัยหลักสูตร 2 ปี 3,700 แห่ง 10. วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4 ปี 2,500 แห่ง 11. ผู้ใหญ่อายุ 25 ปีขึ้นไป จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 98% 12. ผู้จบการศึกษาระดับมัธยม 85% 13. ผู้สำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา 27%

  12. ตารางที่2 ข้อมูลพื้นฐานของครูสหรัฐในโรงเรียนของรัฐ • อายุเฉลี่ย 44 ปี • เพศ หญิง 79% ชาย 21% • ปริญญาสูงสุด ปริญญาตรี 44% ปริญญาโท 55% ปริญญาเอก 1.7% • เฉลี่ยประสบการณ์สอน 14 ปี • เฉลี่ยชั่วโมงทำงานของครูต่อสัปดาห์ 50 ชั่วโมง • เฉลี่ยจำนวนวันทำงานของครูต่อปี 181 วัน • เฉลี่ยเงินเดือนครูต่อปี 43,262 เหรียญ หรือ 3,605 เหรียญ/เดือน 1,514,170 บาท/ ปี หรือ 126,180 บาท/ เดือน

  13. รายชื่อเว็บไซต์สำหรับผู้สนใจงานปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูของสหรัฐและแคนาดารายชื่อเว็บไซต์สำหรับผู้สนใจงานปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพครูของสหรัฐและแคนาดา • W.S. Department of Education www.ed.gov/index.jhtml • National Center of Education Statistics http://nces.ed.gov • The Condition of Teacher http://nces.ed.gov/program/coe • Information of Public Schools and School District http://nces: ed.gov/ced/quickfacts html • State Education Agencies http://nced.ed.gov/ced/ccseas.asp • Teacher-to-Teacher Initiatives www.ed.gov/teacherinitiative • Ontario College of Teachers www.oct.ca

  14. ผู้บริหารการศึกษาที่ต้องการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารการศึกษาที่ต้องการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง • 1.ต้องเข้าใจกระบวนการของการเปลี่ยนแปลง • 2. ต้องเป็นนักจัดการชั้นเยี่ยมที่นำการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ได้ • 3. ต้องทำงานสนองนโยบายระดับสูงให้เกิดผลงานเชิงประจักษ์ได้ • 4. ต้องเรียนรู้เทคนิคใหม่จากการแสวงหาต้นแบบเก่งๆ

  15. Prof. Neal Thornberry ผู้นำในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง 4. ทุกคนเข้าใจยอม 1. ไม่เห็นด้วยไม่ตอบโต้ เปลี่ยนแปลง 2. ไม่เห็นด้วยและต่อต้าน 3. อยากเปลี่ยนแต่ยัง ไม่รู้จะทำอะไร การเปลี่ยนแปลงมี 4 ขั้นตอน เหมือนบ้าน มี 4 ห้อง ผู้นำจึงต้องสร้างการเปลี่ยนแปลงไปถึงห้องที่ทุกคนอยู่อย่างมีความสุข

  16. 23 กลุ่มที่ 1 ตั้งใจทำตาม และทำได้ สำเร็จ (แชมเปี้ยน) กลุ่มที่ 1 ตั้งใจทำตาม และทำได้ สำเร็จ (แชมเปี้ยน) มีการปรับตัว มีการปรับตัว เห็นด้วยกับนโยบายอย่างเปิดเผย เห็นด้วยกับนโยบายอย่างเปิดเผย เข้าใจนโยบาย เข้าใจนโยบาย มีทรัพยากรในการทำงาน มีทรัพยากรในการทำงาน ผู้ปฏิบัติงานมี 4 ประเภท

  17. 24 ไม่เข้าใจนโยบาย กลุ่มที่ 2 ตั้งใจทำตาม แต่ทำตามไม่สำเร็จ (ขอพี่เลี้ยง) ทำแล้วผลประโยชน์ไปตกกับกลุ่ม ที่ไม่สมควรได้รับ ทำแล้วมีผู้รับผลประโยชน์น้อย ไม่คุ้มค่า วิธีแก้ไข ทำเป้าหมายให้ชัดเจน มีคู่มือการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การให้คำปรึกษา มีการติดตามผลงาน การให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สิทธิจากนโยบาย

  18. 25 ตั้งใจไม่ทำตาม - ทำเพื่อผลประโยชน์ของตน - ตั้งใจเปลี่ยนวิธีทำงาน - ทำอย่างอื่นแทน กลุ่มที่ 3 ตั้งใจไม่ ทำตามและ ทำสำเร็จน้อย (เบี้ยว) พลิกแพลงกฎระเบียบ เตะถ่วง ผักชีโรยหน้า แสดงตนเป็นปฏิปักษ์อย่างเปิดเผย ผลักดันภาระไปให้ผู้อื่น/ ขอย้าย ไปทำหน้าที่อื่น

  19. 26 กลุ่มที่ 3 ตั้งใจไม่ ทำตามและสำเร็จน้อย (เบี้ยว) วิธีแก้ไข มาตรการลงโทษ ให้ข้อมูลทุกฝ่าย สรรหาคนดี ซื่อสัตย์มาทำ ให้กลุ่มหลากหลายเข้ามาร่วม จัดทำคู่มือ สร้างการ มีส่วนร่วม อบรมชี้แจง จัดทำประโยชน์ การอ้างอิงจากข้อมูลแหล่งต่าง ๆ

  20. 27 ไม่สนใจนิ่งเฉย กลุ่ม4ตั้งใจไม่ทำตาม แถมทำไม่สำเร็จ(บูดสนิท) ทำแบบขอไปที การแก้ไขต้องทำรายบุคคล มีระบบตรวจสอบการทำงาน ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย

  21. 8 ปรัชญาHRMใหม่:ผู้บริหารนำการเปลี่ยนแปลง 1. ตัวผู้บริหารเป็นผู้นำ 2. ต้องเปลี่ยนวิธีการจัดการ - มีภาวะผู้นำ - ต้องลดขนาดหน่วยงาน - เข้าใจพันธกิจ - ปรับโครงสร้างหน่วยงาน - เข้าใจโลกาภิวัตน์ - ให้ความสำคัญงานบริหารบุคคล - เข้าใจการเปลี่ยนแปลง - ต้องใช้เทคโนโลยีร่วมสมัย - เข้าใจทรัพยากรมูลค่าเพิ่ม - ต้องใช้เทคนิค HRMแบบใหม่

  22. 9 การพัฒนานักบริหารระดับสูงของออสเตรเลียคือการสร้างพฤติกรรม 5 กลุ่ม 1. คิดอย่างใช้ยุทธศาสตร์ 2.มีวิธีทำงานโดยมุ่งผลสำเร็จ 3. การพัฒนาทีมร่วมสร้างผลสำเร็จ 4. ติดต่อสื่อสารได้เร็วทั่วถึง 5. มีตัวอย่างต้นแบบให้ศึกษา

  23. หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสคบศ.ปี2550 แบ่งเป็น 2กลุ่มเป้าหมาย (1)หลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับผู้บริหารการศึกษา (ผอ.สพท).และผู้บริหารสถานศึกษา (รวมโรงเรียนรัฐ เอกชน และกทม) 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ • 1.หน่วยการบริหารการเปลี่ยนแปลง • 2. หน่วยการจัดการที่โรงเรียนเป็นฐาน และ • 3. หน่วยปฎิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

  24. หลักสูตรของสคบศ.ปี2550 สำหรับครูและศึกษานิเทศก์ (2) หลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับครูและศึกษานิเทศก์7 หน่วยการเรียนรู้ คือ • 1. หน่วยครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง • 2. หน่วยคุณธรรมนำความรู้ • 3. หน่วย การพัฒนาสมรรถนะครู • 4. หน่วยการประกันคุณภาพ • 5. หน่วยการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา • 6. หน่วยการปฏิรูปการเรียนรู้ และ • 7. หน่วยวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

  25. ตัวอย่างหลักสูตร พัฒนาผู้บริหารสายวิชาการ • สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับสำนักฝึกอบรมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • วิธีการฝึกอบรมบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา กิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ และการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ • ประเมินผลการฝึกอบรมใน 2 ส่วน คือ ประเมินการเรียนรู้ และประเมินปฏิกิริยาของผู้เข้ารับการอบรม โดยใช้แบบสอบถามและสังเกตพฤติกรรม • ระยะเวลาการอบรม จำนวน 21 วัน • อัตราค่าลงทะเบียน รายละ 45,000 บาท

  26. Module 1การพัฒนาภาวะผู้นำ วันที่ 1 การพัฒนาทักษะหัวหน้างาน วันที่ 2 การพัฒนาวิธีคิดอย่างสร้างสรรค์ วันที่ 3การคิดวิเคราะห์และวางแผน เชิงกลยุทธ์ วันที่ 4 จริยธรรมกับหัวหน้างาน วันที่ 5 การเจรจาต่อรอง

  27. Module 2การบริหารจัดการทรัพยากรในสถาบันอุดมศึกษา • วันที่ 6 ศึกษาดูงาน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • วันที่ 7 การบริหารจัดการการเงิน/การคลัง/งบประมาณ • วันที่ 8 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร • วันที่ 9 เทคนิคการวางแผนและนโยบายด้านอุดมศึกษา • วันที่10 การบริหารเชิงคุณภาพทั้งองค์กร(TQM) การบริหารความรู้ของทีมงาน

  28. Module 3การบริหารจัดการบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา • วันที่ 11 การวางแผน/การพัฒนา/การประเมินบุคลากร/การสร้างแรงจูงใจ • วันที่ 12 การพัฒนาทักษะการสื่อสาร/การให้คำแนะนำและการเป็นพี่เลี้ยง • วันที่ 13 การติดตามและการประเมินผลการ/ปฏิบัติงานเทคนิคการแก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ • วันที่ 14 การบริหารความเสี่ยง/การบริหารการเปลี่ยนแปลง • วันที่ 15 การสร้างและบริหารทีมงาน • วันที่ 16 Summary and Presentation

  29. Module 5ศึกษา ดูงานต่างประเทศเพื่อพัฒนางานบริหารอุดมศึกษา • วันที่ 17 –21 ศึกษา ดูงานต่างประเทศเพื่อพัฒนางานบริหารอุดมศึกษาประเทศเกาหลี

  30. 25 ปัจจัยความสำเร็จที่ส่งผลต่อการจัดกิจกรรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ 1. การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง 2. ความตั้งใจและความมุ่งมั่นของทีมงานผู้รับผิดชอบ 3. ตามทันการใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าเปลี่ยนเร็ว 4. ขนาดและความซับซ้อนขององค์การ 5. ความรู้ใหม่ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์ 6. ความเข้าใจทฤษฏีการเรียนรู้ขององค์กร 7. ผลการปฏิบัติงานของภารกิจหลักอื่นๆ ที่ต้องใช้หลักการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์

  31. Prof. Dipak C. Jain (คณบดีวิทยาลัย การจัดการ Kellogg ) 1. การบริหารคือการขับเคลื่อนโดยใช้กลไกตลาด ลูกค้าคือใคร/ ใครคือคู่แข่ง/ เราจะร่วมมือกับใคร/ เราเก่งอะไร/ เราจะขายอะไร 2. ต้องสร้างภาพลักษณ์และกำหนดจุดยืนในตลาด เช่น มีลักษณะเฉพาะ และเทียบกับมาตรฐานสากล 12

  32. Prof. Dipak C. Jain (คณบดีวิทยาลัย การจัดการ Kellogg) 3. บุคลิกนักบริหาร คิดใหญ่ฝันใหญ่ + ขับเคลื่อนความฝัน + สร้างทีมร่วมผลักดัน ทำเป็นต้นแบบ ใช้สัญชาติญาณ มีเป้าหมาย จูงใจ ใช้ข้อมูล มีกลยุทธ มอบอำนาจ ใช้องค์ความรู้ มีมิติวัด 13

  33. Prof. Dipak C. Jain (คณบดีวิทยาลัย การจัดการ Kellogg) 4. การนำการเปลี่ยนแปลงของนักบริหาร - คิดเชิงธุรกิจ (โอกาส + กำไร) - ทัศนคติเชิงบวก - สามารถนำทีม - ทำงานเชิงรุก - สร้างวัฒนธรรมองค์กร 14

  34. เป้าหมายและวิธีปฏิรูปการศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงของ 6 ประเทศเพื่อนบ้านไทย (ข้อมูลสกศ.ปี2549) • 1.เน้นเพื่อก้าวสู่สังคมฐานความรู้ • 2.เน้นปรับระบบการศึกษาให้หลากหลายทางเลือก เพิ่มคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ การอ่าน การแก้ปัญหาและการใช้ICT • 3.พัฒนาคนสร้างวิสัยทัศน์สู่อนาคต มีอาวุธทางปัญญา • 4.เน้นความรู้และคุณธรรมสร้างตั้งแต่เยาว์วัย -ญี่ปุ่นเน้นความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย จิตสำนึกส่วนรวม รักชาติ คุณค่า เพื่อนมนุษย์ และ ส่วนร่วมสังคมนานาชาติ -เกาหลี เน้นเป็นเลิศทางการศึกษา ประเพณี วิทยาศาสตร์และพลโลก -สิงคโปร์เน้น การเป็นนักคิด และสมานฉันท์

  35. ข้อเสนอแนวปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยข้อเสนอแนวปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทย • 1.สร้างความเข้มแข็งของการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย สำหรับคนทุกกลุ่มอายุ • 2.สร้างวิสัยทัศน์การศึกษาไทย และแต่ละคนสร้างความพร้อมรองรับอนาคต • 3.เน้นการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ เพิ่มความเข้มแข็งด้านคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ทักษะการอ่าน การแก้ปัญหา ใช้ไอซีที 4. เน้นคุณธรรมนำความรู้ สร้างนักคิดและนักธรรม 5. ปฏิรูประบบจัดการโรงเรียนที่เน้นพัฒนานักคิด สนับสนุนโรงเรียนที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของไทยได้แก่โรงเรียนตามแนวเศรษฐกิจพอพียง

  36. มาเริ่มเปลี่ยนแปลง ณ บัดนี้ 1.วิเคราะห์และยอมพัฒนาตนเอง • เริ่มจากการตรวจสอบตัวท่านเองก่อน อย่าน้อยใจในวาสนา / อย่าเพิ่งอิจฉาเพื่อนที่ได้ดี /อย่ารีบด่วนตำหนิผู้บังคับบัญชา / หากวิเคราะห์โดยสำรวจตนเองท่านอาจได้คำตอบว่าเราต้องปรับปรุงตนเองอย่างไร • คำพูด “ขุดดินทั้งวันได้พันห้า เดินไปเดินมาได้ห้าพัน” “หลับ ๆ ตื่น ๆ ได้หมื่นห้า พูดไปพูดมาได้ห้าหมื่น” คำพูดเหล่านี้ถูกต้องแล้ว ความจริงข้อนี้ก็เหมือนคำพูดที่ว่า “คนจนเล่นหวย คนรวยเล่นหุ้น ” 27

  37. 2.นักบริหารทำอะไร ภารกิจของนักบริหารหากคิดจะก้าวให้เป็นนักบริหารระดับสูงขึ้น 1.คิด คิดอย่างมียุทธศาสตร์ให้กว้าง-ไกล-ลึก/คิดตัดสินใจ/คิดแก้ปัญหา /คิดริเริ่มสร้างสรรค์/ประสานความคิด 2.นำนำให้คนยอมรับ/นำให้คนมีความสุข/นำให้คนสร้างผลงานสูงสุด /นำให้คนอื่นพัฒนาเติบโตมาแทนตนเองได้ /นำสู่เป้าหมายขององค์กร 3.คุม คุมเงิน/คุมแผน/คุมคนคุมทรัพยากร /คุมสถานการณ์ 4.แสดง แสดงความสามารถในงาน /แสดงวัฒนธรรมขององค์การ /แสดงความมั่นคงในยามวิกฤติ /แสดงการเป็นตัวแทนต่อโลกภายนอก 28

  38. 3.การจัดการผู้บริหารกรณีระดับสูงกว่าหรือเท่ากัน3.การจัดการผู้บริหารกรณีระดับสูงกว่าหรือเท่ากัน -เรียนรู้ประสบการณ์/คุณวุฒิ /ประวัติความเป็นมา /ให้มีข้อมูลรอบด้านอย่างละเอียดเพื่อเข้าใจวิธีคิด/วิธีพูด/วิธีทำงานของเขา -ให้ความเคารพให้เกียรติ/ไม่นินทาทั้งต่อหน้าหรือลับหลัง /ต้องยกย่องลับหลัง -สร้างเครือข่ายกับญาติ /เพื่อน /เลขานุการหน้าห้องเพื่อทำการข่าว -แสดงความจงรักภักดี/ไม่เลื่อยขา/ไม่Offsideเพื่อมิให้นายระแวง -รู้จักรายงานผลงานความสำเร็จและยกความสำเร็จให้นาย -ขอคำปรึกษาเมื่อเกิดปัญหา -ต้องแก้ไขปัญหาสำคัญอาสาช่วยงานทำงานยาก /งานใหญ่ /งานใหม่ 29

  39. การจัดการกับผู้บริหารระดับกลาง (ผู้ช่วยผอ./หัวหน้ากลุ่ม) -สอนงานให้โดยให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ มีเหตุผล เป็นไปได้ -ฝึกให้เก่งขึ้นมาแทนได้ ต้องสร้างตัวตายตัวแทน เพื่อท่านจะได้ก้าวสูงขึ้น -ปกป้องช่วยเหลือ เมื่อเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้ง -รู้จักสร้างเครือข่ายเรียกมาทำงานหลายคน ระวังความสนิทสนมส่วนตนความลำเอียง -ไม่ตำหนิต่อหน้าที่ผู้อื่นโดยเฉพาะห้องประชุม เรียกมาคุยเพื่อให้คำแนะนำอย่างนุ่มนวล 30

  40. การจัดการกับผู้ปฏิบัติงานการจัดการกับผู้ปฏิบัติงาน -เรียกชื่อจำหน้าให้ได้ทุกคน/เกือบทุกคน สนใจประวัติพื้นเพ และประสบการณ์ความรู้ความสามารถ - ให้ความยุติธรรมให้โอกาสแก่ทุกคน -มองค้นหาผู้มีแววดี ให้ฝึกรับผิดชอบงานสำคัญ -พูดจาให้เกียรติ สุภาพ แสดงถึงความห่วงใย เอื้ออาทร -ชี้แนะให้คำปรึกษาถึงวิธีปฏิบัติงานฯ และให้กำลังใจ 31

  41. 4. ข้อเสนอแนะการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมเข้าสู่ตำแหน่งนักบริหารระดับสูง • ก. การจัดวางตำแหน่งของตนเอง 1. หากอยู่ในตำแหน่งรองผู้บริหารระดับสูง/มิใช่สูงสุด การตัดสินใจควรเป็นหน้าที่ผู้บริหารสูงสุด ต้องหารือ ขอคำปรึกษา 2. ต้องเคารพรองอธิบดี/ รองเลขาธิการคนที่มีอยู่เดิม ให้เกียรติผู้อาวุโสฝากเนื้อฝากตัว 3. อย่าเกี่ยงงาน ให้ดูแลรับผิดชอบด้านใด ให้รับมาทำ ทำให้เต็มที่ คิดว่าได้เรียนรู้งานใหม่ ๆ เปิดโลกทัศน์ สร้างความประทับใจที่ดี 32

  42. ข.ทักษะที่ต้องพัฒนาตนเองให้เก่งและดีที่สุด 4ทักษะ • ทักษะที่ 1 สร้างบุคลิกของผู้บริหารชั้นเยี่ยม - แต่งกายมีรสนิยมดีเหมาะสมฐานะ - ดูแลสุขภาพให้มีรูปลักษณ์ทรวดทรงที่เหมาะสม -ควบคุมอารมณ์ให้เป็นผู้ใหญ่มีเหตุมีผล -มีทักษะและมารยาทที่ห้องประชุม+โต๊ะอาหาร -ติดตามข่าวสาร อ่านหนังสือประเทืองปัญญา - ไปเข้าร่วมสัมมนา+เป็นวิทยากร - รู้จักทักษะการแสดงออกต่อหน้าผู้อื่น เหมาะสมกับบทผู้ช่วยพระเอก อย่าเล่นบทนางอิจฉา ผู้ร้าย 33

  43. ข.ทักษะที่ต้องพัฒนาตนเองให้เก่งและดีที่สุด 4ทักษะ • ทักษะที่ 2 การสื่อสารของผู้บริหารชั้นเยี่ยม • เรียกประชุมชี้แจงให้เกิดกำลังใจ ปลุกเร้า • มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังขายความคิด • จัดระเบียบเวลาให้เหมาะสมวิเคราะห์ผู้ฟังก่อนพบ • เตรียมคำพูดที่เหมาะกลุ่มเป้าหมาย / พยายามพูดให้ผู้ฟังตอบว่า ใช่เสมอ หรือถ้าขัดแย้งต้องบอกว่า “ครับ/คะ…. แต่ว่า” • สื่อความหมายด้วยภาษากาย เพิ่มจากการพูด • เยือกเย็น สุขุม เคลื่อนไหวอย่างราบรื่น • อยู่ในระยะห่างที่เหมาะสม คือเกินมือเอื้อม/ไม่คุกคาม เป็นผู้ฟังที่ดี แสดงความสนใจ • รู้จักจังหวะรุก-ถอยวางตัวเป็นมืออาชีพ 34

  44. ข.สี่ทักษะที่ต้องพัฒนาตนเองให้เก่งและดีที่สุดข.สี่ทักษะที่ต้องพัฒนาตนเองให้เก่งและดีที่สุด • ทักษะที่3 การพูดของผู้มีอำนาจเมื่อมีเรื่องสำคัญต้องสั่ง-ประโยคบอกเล่าที่ชัดเจน ไม่ซับซ้อน ใช้คำน้อย ไม่มีคำขยายมาก เป็นภาษาที่ทรงอำนาจ -พูดให้ช้าลง เสียงระดับต่ำ หนักแน่น เยือกเย็น เข้มงวดและชัดเจน -ยืนแบบทหารมั่นคง ไหล่ผึ่ง นัยน์ตามองตรงนิ่ง หน้าเรียบศีรษะนิ่งใส่หน้ากากหิน ควบคุม อากัปกริยาราบเรียบ - การปรากฏตัวให้สำคัญ นั่งในที่เด่น 35

  45. ข.ทักษะที่ต้องพัฒนาตนเองให้เก่งและดีที่สุด 4ทักษะ • ทักษะที่ 4 การสร้างภาวะผู้นำขององค์กร ค้นหาผู้บริหารระดับสูงสุด ผู้อาวุโสเพื่อขอคำแนะนำ สร้างเครือข่ายทีมงาน เพื่อนในสำนักงาน ผู้บริหารต่างหน่วยงาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการประสานงาน รับฟังข้อมูลทำการข่าวความเคลื่อนไหว เพื่อรับทราบความเป็นไปของคนในองค์กร มีสารทุกข์สุกดิบ คับข้องใจเรื่องใด ค้นหาดาวรุ่งพุ่งแรงที่จะเป็นผู้บริหารระดับสูงสุด ทำงานให้เขาประทับใจต้องทำงานให้ผู้บริหารระดับสูงหลายคนไปพร้อมกัน เสนอตนเองต่อที่ชุมชน ในที่ประชุม ในงานสังสรรค์ ไม่เล่นหรือแข่งขันในสิ่งที่ไม่ถนัด หลีกความพ่ายแพ้ 36

  46. ค.ทักษะในการสร้างภาวะผู้นำขององค์กรภาครัฐค.ทักษะในการสร้างภาวะผู้นำขององค์กรภาครัฐ ต้องฝึกฝนเพื่อความสำเร็จอยู่เสมอเริ่มค้นจุดอ่อนจุดแข็งของตนเอง /วางแผนแก้ไข /มีวินัยต่อตนเอง /ลงมือทำงานด้วยความเหนื่อยยาก/ศึกษาผลงานที่คนอื่นทำได้สำเร็จ /ความสำเร็จมิได้หมายความว่าท่านจะล้มเหลวไม่ได้ แต่ท่านจะต้องยอมรับความล้มเหลว ลุกสู้ขึ้นใหม่ ปรับกลยุทธ์ใหม่ ต้องสร้างภาพของความสำเร็จและก้าวไปสู่ความสำเร็จทำงานหนัก /ใช้สติปัญญา /ความสำเร็จอยู่ที่โอกาส ต้องสร้างโอกาสมิใช่รอโอกาส/รับผิดชอบต่อการกระทำและความผิดพลาดของตนเองเสมอ /ปรับตัวได้เร็ว ทันเหตุการณ์ /ต้องเติมพลังกายพลังใจมีชีวิตกระปรี้กระเปร่า 37

  47. อารมณ์ที่ทำลายนักบริหารอารมณ์ที่ทำลายนักบริหาร นักบริหารหญิง • ร้องไห้ต่อวงประชุม • นินทาต่อวงประชุม • ปากตลาด นักบริหารชาย • ลงไม้ลงมือ • เดินหนีจากห้องประชุม • ประกาศล้างแค้น 55

  48. สูตรทำงานทีม(Twelve Cs for Team Building) • Clear Expectationsบอกความคาดหวังให้ชัดเจน • Contextกำหนดขอบข่ายงาน • Commitment:รับผิดชอบงานที่รับมอบหมาย • Competence: ศักยภาพขีดความสามารถในทักษะงาน • Charter:กฎกติกามารยาท • Control:การควบคุมสั่งการ • Collaboration:การให้ความร่วมมือ • Communicationการติดต่อสื่อสารทำความเข้าใจ • Creative Innovationใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีให้งานง่ายและเร็วขึ้น • Consequences:การทำอย่างต่อเนื่อง • Coordinationการประสานกัน • Cultural Changeยอมเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน 59

  49. สูตรสร้างภาวะผู้นำ :25 lessons from Jack Welch ก.นำมากกว่าจัดการ: 1.แนะนำมากขึ้น 2.จัดการลดลง 3.วิสัยทัศน์ ยาวไกล 4.ทำให้เป็นเรื่องง่าย 5.ลดพิธีที่เป็นทางการ 6.ให้กำลังใจผู้อื่น 7.ยอมรับความจริง 8.มองการเปลี่ยนแปลงเป็นโอกาส 9.เก็บเกี่ยวข้อเสนอดีๆ จากทุกคน 10.ติดตามผล ข.สร้างองค์กรที่ทุกคนชนะ: 11.ลดศักดินา 12.ขจัดสิ่งที่ขวางหน้า 13.คุณค่าต้องมาก่อน 14.เป็นผู้นำที่พร้อมพัฒนาตนเอง 15.สร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ ค.ครองใจผู้คน : 16.ให้ทุกคนมีส่วนร่วม 17.ให้โอกาสทุกคนในทีมได้ทำ 18.ยืดหยุ่น, 19.มีความมั่นใจตนเอง 20.มีอารมณ์ขัน ง.สร้างหน่วยงานให้เป็นผู้นำในวงการ: 21.องค์กรเป็นผู้นำหมายเลข1หรือ2ของวงการ 22.อยู่ด้วยคุณภาพ 23.เน้นสร้างนวัตกรรมใหม่ 24.ปรับตัวไปกับความรวดเร็ว 25.ทำตัวเรียบง่ายเหมือนอยู่องค์กรเล็กที่อ่อนน้อมรู้จักตน 63

  50. เข้าใจแนวทางการบริหารการศึกษาไทยยุค2550 รมว.ศธ.ศ.ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน 1.ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาโดยแก้ปัญหาอุปสรรค ที่ค้างอยู่ เพื่อให้เดินหน้าต่อไปได้2.เสริมเติมเต็มในเรื่องจำเป็น เช่น ผลักดันร่าง พ.ร.บ.การศึกษาตลอดชีวิต พ.ร.บ.อาชีวะ พ.ร.บ.โรงเรียนเอกชน ให้การปฏิรูปได้ทั้งระบบ 3. ทำงานใหม่ให้ได้งานที่ขานรับนโยบายรัฐบาล เช่นชูประเด็นคุณธรรมนำความรู้ น้อมนำสู่เศรษฐกิจพอเพียง 56

More Related