1 / 14

การจัดการความรู้

การจัดการความรู้. Knowledge Management. เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา. กรณีศึกษา : การปรับอัตราภาษีสุรา กับงานของสำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 1. สุรา. ยาสูบ. น้ำมัน.

herne
Télécharger la présentation

การจัดการความรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการความรู้ Knowledge Management เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา กรณีศึกษา : การปรับอัตราภาษีสุรา กับงานของสำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 1

  2. สุรา ยาสูบ น้ำมัน

  3. พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 8 จัตวา การเสียภาษีสุราตามมูลค่านั้น ให้ถือมูลค่าตาม (1) และ (2) โดยให้รวมภาษีสุราที่พึงต้องชำระด้วย ดังนี้(1) ในกรณีสุราที่ทำในราชอาณาจักร ให้ถือตามราคาขาย ณ โรงงานสุรา ในกรณีไม่มีราคาขาย ณ โรงงานสุรา หรือราคาขาย ณ โรงงานสุราดังกล่าวมีหลายราคา ให้ถือตามราคาที่อธิบดี ประกาศ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรเพื่อ ถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีโดยกำหนดจากราคาขาย ณ โรงงานสุราในตลาดปกติได้

  4. พ.ร.บ.สุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 8 จัตวา “การเสียภาษีสุราตามมูลค่าให้ถือราคาขาย ณ โรงงานสุรา โดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ” ต้นทุน+กำไร ภาษีสุราตามพ.ร.บ.สุราฯ +ภาษีสุราตามพ.ร.บ.จัดสรรฯ พ.ร.บ.จัดสรรเงินภาษีสุรา พ.ศ. 2527 มาตรา 4 “ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา เสียภาษีสุราเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ของภาษีสุรา” ดังนั้น ภาษีสุราตาม พ.ร.บ.จัดสรรฯ จึงเป็นภาษีสุราที่พึงชำระ ซึ่งจะต้องนำไปรวมกับราคาขาย ณ โรงงานสุราด้วย

  5. ราคาขาย ไม่รวมภาษี ภาษีสุรา(1) ตามพ.ร.บ.สุรา พ.ศ. 2493 ภาษีสุรา (2) ตาม พ.ร.บ.จัดสรร = 100% 34% 60% 6% โครงสร้างราคาขาย ณ โรงงานสุราโดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ ตัวอย่าง อัตราภาษีตามมูลค่าสุราแช่ชนิดเบียร์ ร้อยละ 60 กรณีผู้ผลิตทราบราคาขายไม่รวมภาษี = 14.60 บาท/ขวด เทียบจากโครงสร้าง ร้อยละ 34 เป็นเงิน = 14.60 บาท/ขวด ดังนั้น ภาษีสุรา (1) ร้อยละ 60 เป็นเงิน = 14.60 x 60 = 25.76 บาท/ขวด และ ภาษีสุรา (2) ร้อยละ 6 เป็นเงิน = 14.60 x 6 = 2.57 บาท/ขวด 34 34 สรุป ราคาขาย ณ โรงงานสุรารวมภาษีที่พึงชำระ = 14.60+25.76+2.57 = 42.93 บาท/ขวด

  6. โครงสร้างราคาขาย ณ โรงงานสุราโดยรวมภาษีสุราที่พึงชำระ ภาษีสุรา = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุราที่พึงชำระ) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุรา+ภาษีมหาดไทย) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี + ภาษีสุรา+ (ภาษีสุรา X 10%)) X อัตราภาษี = (ราคาขาย ณ โรงงานสุราไม่รวมภาษี) Xอัตราภาษีสุรา 1- (1.1 Xอัตราภาษีสุรา)

  7. 100% 36.95 2.03 5.5% 55% 20.32 39.5% 14.60 อัตราตามมูลค่าเดิม 55% อัตราตามมูลค่าใหม่ 60% 42.93 100% ราคาขายรวมภาษี 6% 2.57 ภาษีมหาดไทย 25.76 60% ภาษีสุรา 34% 14.60 ราคาขายไม่รวมภาษี

  8. การประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรการประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักร เพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี 1. การคำนวณภาษีสุราตามมูลค่า จะใช้ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่รวมภาษีสุราที่พึงชำระ (ภาษีสุราและภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย) เป็นฐานในการคำนวณภาษี ซึ่งเรียกว่าระบบภาษีรวมใน 2. เนื่องจากภาษีสุราเป็นระบบภาษีรวมใน เมื่อมีการปรับอัตราภาษีเมื่อใด ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษี จะต้องเปลี่ยนแปลงไปตามภาระภาษีที่มีการปรับเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ผู้ได้รับอนุญาตทำสุราจะต้องแจ้งเปลี่ยนแปลงราคาขาย ณ โรงงานสุรา ตามพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 3. หากผู้ได้รับอนุญาตทำสุราไม่แจ้งเปลี่ยนแปลงราคาหรือแจ้งราคาไม่ถูกต้องตามภาระภาษีสุราที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลต่อรายได้ภาษีสุราที่รัฐพึงจะได้รับ ดังนั้น เมื่อมีการปรับอัตราภาษีสุรา จึงต้องดำเนินการประกาศกำหนดมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรเพื่อใช้เป็นฐานในการคำนวณภาษีใหม่

  9. การประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักรการประกาศมูลค่าของสุราที่ทำในราชอาณาจักร เพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี 4. ในการประกาศกำหนดมูลค่าของสุรา มีวิธีการคำนวณดังนี้ 4.1 ใช้ราคาขาย ณ โรงงานที่รวมภาษีสุราที่พึงชำระในอัตราเดิม ซึ่งใช้เป็นมูลค่าในการคำนวณภาษี ณ ปัจจุบันเป็นฐานในการคำนวณ 4.2 นำราคาในข้อ 4.1 มาหักภาษีสุราในอัตราเดิม และภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย (10% ของภาษีสุรา) เพื่อให้ได้ราคาขาย ณ โรงงานสุราที่ไม่รวมภาษี 4.3 นำราคาในข้อ 4.2 มาคำนวณภาษีสุราตามอัตราที่ปรับใหม่และคำนวณภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย (10% ของภาษีสุรา) 4.4 นำราคาในข้อ 4.2 บวกด้วยภาษีที่คำนวณได้ในข้อ 4.3 (ภาษีสุราตามอัตราที่ปรับใหม่และภาษีสุราเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย) จะได้ราคาขาย ณ โรงงานสุราเพื่อถือเป็นเกณฑ์ในการคำนวณภาษีใหม่ตามที่จะประกาศต่อไป

  10. ภาษีสุราเดิม ภาษีสุราใหม่ เพิ่ม เบียร์ 55% 60% บาท/ขวด Premium 20.87 26.47 5.60 (27%) (27%) Standard 20.32 25.76 5.44 14.96 18.97 4.01 (27%) Economy • ขวดใหญ่ 0.640 ลิตร

  11. ภาษีสุราเดิม ภาษีสุราใหม่ เพิ่ม สุราขาว 110 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 120 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท/ขวด 19.25 21.00 1.75 (9%) 28 ดีกรี (9%) 20.62 22.50 1.88 30 ดีกรี 35 ดีกรี 24.06 26.25 2.19 (9%) 40 ดีกรี 27.50 30.00 2.50 (9%) • ขวดใหญ่ 0.625 ลิตร

  12. ภาระภาษีเดิม ภาระภาษีใหม่ เพิ่ม สุราผสม 280 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 300 บาทต่อลิตรแห่งแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ บาท/ขวด 49.00 52.50 3.50 28 ดีกรี (6.29%) 52.50 56.25 3.75 (6.29%) 30 ดีกรี 35 ดีกรี 61.25 65.62 4.37 (6.29%) • ขวดใหญ่ 0.625 ลิตร

  13. บรั่นดี ภาระภาษีเดิม ภาระภาษีใหม่ เพิ่ม 45% 48% บาท/ขวด 38 ดีกรี 113.67 129.72 16.05 (14.12%) • ขวดใหญ่ 0.700 ลิตร

  14. ถาม& ตอบ

More Related