1 / 9

หลักการเงิน (00920208)

หลักการเงิน (00920208). บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2). สรุปสูตรการคำนวณ FV n , PV. FV n = PV(FVIF i,n ) PV = FV n (PVIF i,n ). FV n = PV(1+i) n PV = FV n /(1+i) n. การคำนวณมูลค่าทบต้นของเงินต้นหลายๆ งวด งวดละเท่าๆ กัน.

hidi
Télécharger la présentation

หลักการเงิน (00920208)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการเงิน (00920208) บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)

  2. สรุปสูตรการคำนวณ FVn, PV FVn = PV(FVIFi,n) PV = FVn(PVIFi,n) FVn= PV(1+i)n PV = FVn/(1+i)n

  3. การคำนวณมูลค่าทบต้นของเงินต้นหลายๆ งวด งวดละเท่าๆ กัน • การรับหรือจ่ายเงินทำทุกสิ้นงวด (ordinary annuities)FVAn = CFA (FVIFAi,n) • การรับหรือจ่ายเงินทำทุกต้นงวด (annuity due)FVAn = CFA (FVIFAi,n)(1+i)

  4. ตัวอย่างการคำนวณมูลค่าอนาคตของเงินที่รับหรือจ่ายเท่าๆ กันตอนสิ้นงวด ตัวอย่าง ถ้าหากนำเงินฝากธนาคารทุกๆสิ้นปี ปีละ 100,000 บาท โดยได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 3 จะมีเงินทั้งสิ้นรวมเท่าใด 0 ปี 0i = 10% 1 2 3 CFA CFA 100 100 100 CFA(1+i)1 110 CFA(1+i)2 121 FVAn = CFA (FVIFAi,n) = CFA Σ(1+i)n-1 FVA3 = 331

  5. การคำนวณมูลค่าอนาคตของเงินที่รับหรือจ่ายเท่าๆ กันตอนต้นงวด ตัวอย่าง ถ้าหากนำเงินฝากธนาคารทุกๆต้นปี ปีละ 100,000 บาท โดยได้รับดอกเบี้ย 10% ต่อปี เมื่อสิ้นปีที่ 3 จะมีเงินทั้งสิ้นรวมเท่าใด 0 ปี 0i = 10% 1 2 3 CFA= 100 100 100 110 121 133.1 FVA3 = 364.1

  6. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่จะเกิดในอนาคตหลายๆ งวด งวดละเท่าๆ กัน • การรับหรือจ่ายเงินทำทุกสิ้นงวด PVAn = CFA (PVIFAi,n) • การรับหรือจ่ายเงินทำทุกต้นงวด PVAn = CFA (PVIFAi,n)(1+i)

  7. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรายงวด งวดละเท่าๆกันที่จะเกิดตอนสิ้นงวด ตัวอย่าง ถ้าหากท่านได้รับเงินทุกๆสิ้นปี ปีละ 100,000 บาท เป็นเวลา 3 ปีโดยมีอัตราดอกเบี้ย หรือ อัตราส่วนลด 10% ต่อปี มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจะเป็นเท่าใด ปี 0i = 10% 1 2 3 CFA = กระแสเงินสดรับทุกสิ้นปี = FVn 100 100 100 PV ของเงิน 100 บาทที่ได้รับปีที่ 1 = 90.91 PV ของเงิน 100 บาทที่ได้รับปีที่ 2 = 82.64 PV ของเงิน 100 บาทที่ได้รับปีที่ 3 = 75.13 PVA3 = 248.68

  8. การคำนวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรายงวด งวดละเท่าๆกันที่เกิดโดยในอนาคตโดยไม่มีที่สิ้นสุด ตัวอย่าง ถ้าหากท่านลงทุนในตราสารทางการเงินของบริษัทหนึ่งซึ่งจะจ่ายผลตอบแทนทุกปี ปีละ 100,000 บาท ถ้าการลงทุนอื่นที่มีความเสี่ยงเท่าๆกันกับการลงทุนในตราสารนี้ให้ผลตอบแทนแก่ท่านในอัตรา 8% ต่อปี (อัตราส่วนลด 8%) ท่านควรจะจ่ายเงินลงทุนในตราสารดังกล่าวเป็นจำนวนเท่าใด PVA = CFA/i = 100,000/0.08 = 1,250,000 นั่นคือถ้าจะลงทุนในตราสารนี้ ควรจ่ายเงินลงทุนขณะนี้ 1,250,000 บาท และรอรับผลตอบแทนปีละ 100,000 บาท ไปเรื่อยๆ จะทำให้ได้รับผลตอบแทน 8% ต่อปีโดยเฉลี่ย

  9. สรุปสูตรการคำนวณ FV, PV, FVA, PVA FVn= PV(FVIFi,n) PV = FVn(PVIFi,n) FVAn = CFA(FVIFAi,n)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกสิ้นงวด FVAn = CFA(FVIFAi,n)(1+i)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกต้นงวด PVA = CFA(PVIFAi,n)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกสิ้นงวด PVA = CFA(PVIFAi,n)(1+i)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกต้นงวด PVA = CFA/i

More Related