1 / 66

โครงสร้างอะตอม 1

โครงสร้างอะตอม 1. Atomic structures. โครงสร้างของอะตอมยุคแรก. ลิวซิพพุส (Leucippus: ca.450 BC) และ ดิโมคริตุส (Democritus: ca. 470-380 BC) สองนักปราชญ์ชาวกรีก ได้เสนอทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับอะตอมว่า.

Télécharger la présentation

โครงสร้างอะตอม 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงสร้างอะตอม 1 Atomic structures

  2. โครงสร้างของอะตอมยุคแรกโครงสร้างของอะตอมยุคแรก ลิวซิพพุส (Leucippus: ca.450 BC) และ ดิโมคริตุส (Democritus: ca. 470-380 BC) สองนักปราชญ์ชาวกรีก ได้เสนอทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับอะตอมว่า “สารทั้งปวงมีองค์ประกอบพื้นฐานที่เล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม (มาจากคำว่า atomos แปลว่า แยกไม่ได้ หรือ แบ่งไม่ได้)” A = “ไม่” , tomos = “แบ่งได้”

  3. ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน จอห์น ดาลตัน (John Dalton: 1766-1844) นักเคมีชาวอังกฤษ : เสนอแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมดังนี้ 1. สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่แบ่งแยกไม่ได้เรียกว่า อะตอม 2. อะตอมไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทำลายได้ 3. ธาตุประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียว อะตอมของธาตุชนิด เดียวกันมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ และแตกต่างจากอะตอม ของธาตุชนิดอื่นๆ

  4. แม้ว่าทฤษฎีอะตอมของดาลตันจะไม่ถูกต้อง แต่ได้สร้างความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับธาตุซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและพัฒนาความรู้ทาง เคมีในยุคนั้นเป็นอย่างมาก

  5. ทฤษฎีอะตอมของทอมสัน การค้นพบอิเล็กตรอน เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (J.J. Thomson: 1856-1940) พิสูจน์พบอนุภาคประจุลบ

  6. เมื่อผ่านกระแสไฟระหว่างขั้วไฟฟ้าลบ (Cathode) และขั้วไฟฟ้าบวก (Anode) ในหลอดสุญญากาศ แล้วเกิด การเรืองแสง (เรียกว่ารังสีแคโธด หรือ Cathode Ray) ที่บริเวณขั้วบวกแอโนด  เมื่อให้สนามไฟฟ้า รังสีนี้จะเบนเข้าหาสนามไฟฟ้าบวก  รังสีแคโธด คือ รังสีที่เกิดจากอนุภาคประจุลบ  อนุภาคประจุลบ คือ อิเล็กตรอน

  7. e = 1.76 x 108 C/g m ทอมสันพยายามหามวลของอิเล็กตรอน โดยวัดพลังงานที่ทำ ให้รังสีแคโธดเบนออก ซึ่งก็คือค่า “อัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน” ไม่ว่าจะนำแก๊สชนิดใดมาใช้ ก็จะได้อัตราส่วนนี้เสมอ ทอมสันสรุปว่า “อิเล็กตรอนเป็นอนุภาคมูลฐานที่อยู่ใน อะตอมของธาตุทุกชนิด”

  8. โรเบิร์ต มิลลิแกน (R. Millikan : 1868-1953) หาประจุของอิเล็กตรอน โดยวัดค่าสนามไฟฟ้าที่ทำให้แรงดึงดูดระหว่างประจุ (แรงคูลอมป์) บนละอองน้ำมันเท่ากับค่าแรงโน้มถ่วงของโลก

  9. ค่าประจุบนละอองน้ำมันมีค่า = 1.602 x 10-19 C  มิลลิแกนหามวลของอิเล็กตรอนโดย e/m = 1.75882 x 108 C/g m = e / (1.75882 x 108 C/g) = (1.602 x 10-19 C) / (1.75882 x 108 C/g) = 9.109 x 10-31 kg “อิเล็กตรอน” เป็นอนุภาคที่มีประจุลบ มีประจุ = 1.602 x 10-19 C มีมวล = 9.109 x 10-31 kg

  10. การคนพบโปรตอน เนื่องจากอะตอมเปนกลางทางไฟฟา แสดงว่าตองมีอนุภาค ที่มีประจุบวกรวมอยู่ในอะตอมด้วย โกลดสไตน สังเกตพบรังสีแอโนด (รังสีที่มาจากอนุภาคประจุบวก) จากการดัดแปลงการทดลองของทอมสัน เมื่ออิเล็กตรอนจากกระแสไฟฟาวิ่งชนกลุมอะตอม ทําใหอะตอมไอออไนซ ไดอิเล็กตรอนกับอะตอมไอออนบวก (A → A+ + e)

  11. ถ้าเจาะรูที่แผ่น Cathode จะมีอนุภาควิ่งไปด้านหลัง เรียกว่า “รังสีแคแนล”  รังสีจะเบนเข้าหาสนามไฟฟ้าลบ มีมวลต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับชนิดของแก๊ส การทดลองของรัทเทอรฟอรดยืนยันการคนพบโปรตอน โดยระดมยิงโมเลกุลไนโตรเจนดวยอนุภาคอัลฟา ( 42He ) ทําใหไดอนุภาคซึ่งหนักเปน 1830 เทาของอิเล็กตรอน และมีประจุเทากับอิเล็กตรอน

  12. หลังจากการคนพบอิเล็กตรอน และโปรตอน ทอมสันจึงไดเสนอทฤษฎีอะตอม “อะตอมเปนทรงกลมประกอบดวย อิเล็กตรอน และ โปรตอน อนุภาคทั้งสองอยูกระจัดกระจายทั่วบริเวณอะตอม อยางสม่ำเสมอในสภาพที่เปนกลางทางไฟฟา”

  13. ทฤษฎีอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดทฤษฎีอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด อี อาร รัทเทอรฟอรด (1871-1937) ศึกษาการกระเจิงของรังสีแอลฟา โดยการระดมยิงรังสีแอลฟา ( 42He2+, อนุภาคประจุบวก) ผานแผนทองคําบางๆ แลวสังเกตจุดเรืองแสงบนฉาก

  14. การทดลองของรัทเทอรฟอรดพบวาการทดลองของรัทเทอรฟอรดพบวา รังสีสวนใหญทะลุผาน รังสีสวนนอยที่เบี่ยงเบน และเกิกการสะทอนกลับ เพราะฉะนั้น แบบจำลองของทอมสันจึงอธิบายการทดลอง ของรัทเทอร์ฟอร์ดไม่ได้ เขาจึงเสนอแบบจำลองอะตอมแบบใหม่ซึ่ง มีลักษณะดังนี้ 1. อะตอมเปนทรงกลม เนื้อที่สวนใหญเป็นชองวาง 2. อนุภาคประจุบวกทั้งหมดรวมกันอยูตรงกลาง เรียกวา “นิวเคลียส”

  15. 3. มีอิเล็กตรอนโคจรเปนวงลอมรอบนิวเคลียส 4. มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับจํานวนอนุภาคประจุบวก (โปรตอน) ในนิวเคลียส เนื่องจากขอมูลทางแมสสเปกโทรกราฟบอกวา ผลรวม ของมวลของโปรตอนและอิเล็กตรอนของธาตุทุกชนิด จะน้อย กวามวลอะตอมเสมอ

  16. - - - - p+n การคนพบนิวตรอน เซอร เจมส แชดวิค (Sir James Chadwick: ค.ศ. 1932) ไดพบอนุภาคใหมที่เปนกลางทางไฟฟา และมีมวลใกลเคียงกับโปรตอน เรียกวา “นิวตรอน” (Neutron) จากการค้นพบอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ทำให้แบบ จำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดสมบูรณ์ขึ้น ดังรูป

  17. โครงสร้างของอะตอมยุคหลังโครงสร้างของอะตอมยุคหลัง การเปลี่ยนแปลงจากยุคฟสิกสแผนเดิมไปสูยุคทฤษฎีควอนตัม จากทบ.ของรัทเทอร์ฟอร์ด อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุไฟฟ้าเมื่อ เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส จะมีการสูญเสียพลังงานในรูปของการแผ่รังสี ทำให้อะตอมยุบ และอิเล็กตรอนจะคงอยู่ไม่ได้ แต่ความจริง e ยังอยู่ในอะตอมได้ แต่เดิมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะใช้ทบ. แม่เหล็กไฟฟ้า ของ Maxwell (ทบ.คลื่นแสง)

  18. ทฤษฎีของแมกซเวลล (Maxwell’s theory) รังสีแมเหล็กไฟฟาเปนรูปพลังงานที่เปลงออก (Emission) ในรูปของคลื่น มีองคประกอบ 2 สวน ไดแก คลื่นทางไฟฟา (Electric wave) และคลื่นทางแมเหล็ก (magnetic wave) โดยคลื่นทั้งสองจะเคลื่อนที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน

  19. สมบัติของคลื่น  คลื่น (Wave) เปนรูปแบบการเคลื่อนที่ของพลังงานที่มี ลักษณะซ้ำกันเปนคาบๆ (Period)  ความเร็วของคลื่นขึ้นกับชนิดของคลื่นและธรรมชาติของตัวกลาง ที่คลื่นเคลื่อนที่ • องคประกอบที่สําคัญของคลื่น มีดังตอไปนี้ • 1. ความยาวคลื่น (wavelength, λ) เปนระยะทางจากยอดคลื่นหนึ่งถึงอีกยอดคลื่นหนึ่ง • 2. ความถี่คลื่น (frequency, ν) เปนจํานวนคลื่นที่ผานจุดหนึ่งใน 1 วินาที • 3. ความเร็วคลื่น (velocity, c) เปนระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ใน 1 วินาที • 4. แอมพลิจูด (amplitude) เปนความสูงของยอดคลื่น

  20. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเดินทางดวยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง (c) = 3.0 x 108 m/s

  21. ν = เลขคลื่น = 1 (cm-1) λ c = λν λ = ความยาวคลื่น (nm) ν = ความถี่ (Hz หรือ s-1)

  22. ทบ.Maxwell อธิบายการเปลงรังสี ความรอนของวัตถุดําไมได เพราะทฤษฎีนี้ถือวา แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา • เปลงออกมาจากการสั่นสะเทือนของอนุภาคที่มีประจุ • จึงมีความถี่เปนคาตอเนื่อง •  ยิ่งความถี่สูง ความเขมของแสงจะยิ่งสูงขึ้นดวย การเปลงแสงไมขึ้นกับความถี่ วัตถุจะเปลงแสงสีน้ำเงิน-มวงเทานั้น (λ นอย) แตในการทดลองจริง : วัตถุที่มีอุณหภูมิหนึ่งๆ จะเปลง แสงที่มีความเขม สูงสุดในชวง ความถี่หนึ่งเทานั้น อธิบายไดดวย “ทฤษฎีควอนตัม”

  23. แสดงวา วัตถุรอนเปลงแสง เมื่อมีความเขมที่ความยาวคลื่นเฉพาะคาหนึ่ง

  24. การแผ่รังสีของวัตถุดำ(Black-body radiation) วัตถุดำ หมายถึง วัตถุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนและคายพลังงาน ที่มากระทบได้ทั้งหมด (ไม่มีจริง)  เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุดำมากขึ้น ทำให้มีการเปล่งรังสีมากขึ้น  ความเข้มของรังสี ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของวัตถุ  สีของรังสีที่เปล่งออกมา ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ

  25. ทฤษฎีควอนตัมของพลังค์ทฤษฎีควอนตัมของพลังค์ แมกซ์ พลังค์ (Max Planck: 1858-1947) เสนอว่าการดูดกลืนหรือปลดปล่อยพลังงานของวัตถุดำจำกัดได้เพียงบางค่าเท่านั้น หรือเป็นกลุ่มก้อนเรียกว่า ควอนตัม (Quantum) โดยค่าพลังงานเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความถี่ (ν) ตามสมการ E  υ E = hυ เมื่อ h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ = 6.625 x 10-34 จูลวินาที

  26. ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (ค.ศ. 1905) ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ใช้แนวคิดของพลังค์ อธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว โดยตั้งสมมติฐานว่า แสงไม่ได้มีพฤติกรรมของคลื่น แต่แสงมีพฤติกรรมเสมือนอนุภาค เรียกว่า โฟตอน(Photon) ซึ่งมีพลังงานเท่ากับ hν • ปรากฎการณ์ที่ ē หลุดจากผิวหน้าของโลหะ เมื่อโลหะถูกฉาย แสงที่ความถี่ (ν) มากกว่า ค่าความถี่ขีดเริ่ม (ν0-threshold value) ของโลหะ

  27. Etotal = ho + K.E. = ho + ½ mv2 พลังงานน้อยที่สุดของโฟตอนที่ทำให้ e หลุดจากผิวโลหะ เท่ากับแรงดึงดูดระหว่างอิเล็กตรอนกับนิวเคลียส คือ Ε = hν° e ที่หลุดออกมาจากปรากฏการณ์นี้ เรียกว่า “โฟโตอิเล็กตรอน” พลังงานทั้งหมดที่ใช้ในการทำให้เกิดโฟโคอิเล็กตรอน คือ

  28. ความเข้มแสงมาก  จำนวนโฟตอนมาก  จำนวนโฟโต อิเล็กตรอนมาก ho Slope = h

  29. สเปกตรัมของไฮโดรเจน เมื่อประจุอิเล็กตรอนชนกับแก๊สไฮโดรเจนที่อยู่ในหลอด จะเกิดการเรืองแสง และเมื่อแสงจากหลอดผ่านสลิทและปริซึมจะหักเหได้เส้นสเปกตรัม ซึ่งเป็นสเปกตรัมเปล่งออกมา (Emission spectrum) ของไฮโดรเจน

  30. รูปแบบของสเปกตรัมของไฮโดรเจนจะมีลักษณะเป็นเส้นๆ (line spectrum) ไม่ต่อเนื่อง จึงเกิดคำถามว่า 1. ทำไมแสงจึงเปล่งออกมาจากแก๊สไฮโดรเจน 2. ทำไมแสงเปล่งออกจึงมีความยาวคลื่นเพียงบางค่าเท่านั้น

  31. ระดับพลังงานที่อิเล็กตรอนอยู่มีลักษณะเป็นชั้นๆ ไม่ต่อเนื่อง ระดับชั้นของพลังงาน โดยที่ n เป็นเลขจำนวนเต็ม โดยปกติ อิเล็กตรอนในอะตอมจะอยู่ในระดับพลังงานต่ำสุดที่เรียกว่า “สถานะพื้น”(ground state)

  32. เมื่ออะตอมได้รับพลังงานความร้อนจากไฟฟ้าศักย์สูง อิเล็กตรอนในอะตอมจะได้รับพลังงานเพิ่ม และไปอยู่ในระดับพลังงานที่สูงขึ้น เรียกว่า สถานะกระตุ้น (excited state) สถานะกระตุ้น (excited state) h e สถานะพื้น (ground state) กระบวนการดูดกลืนพลังงานโดยอิเล็กตรอน

  33. เมื่ออิเล็กตรอนกลับมาที่เดิม ก็ต้องปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของพลังงานรังสี ปรากฏเป็น สเปกตรัม e E2 สถานะกระตุ้น (excited state) E = E2 – E1 = h E1 สถานะพื้น (ground state) กระบวนการคายพลังงานโดยอิเล็กตรอน เกิดเป็น สเปกตรัม ความยาวคลื่นของสเปกตรัมเปล่งออก  ΔE.

  34. นิวเคลียส (p+n) e n = 4 321 r ทฤษฎีอะตอมไฮโดรเจนของบอห์ร บอห์ร (Niels Bohr: 1885-1962) เสนอแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมของไฮโดรเจน โดยใช้แนวคิดของรัทเทอร์ฟอร์ดร่วมกับทฤษฎีควอนตัม ดังนี้ • อะตอมไฮโดรเจนประกอบด้วย • นิวเคลียสที่มีอิเล็กตรอนโคจรรอบๆ นิวเคลียสเป็นวงกลมโดยมี รัศมี r n คือ เลขควอมตัมมีค่าเป็น 1, 2, 3, ...

  35. L = mevr = nh 2 2. อิเล็กตรอนโคจรรอบๆ โดยไม่สูญเสียพลังงาน ซึ่งเรียกว่าสถานะ คงตัว โดยที่โมเมนตัมเชิงมุมของวงโคจรจะมีค่าเป็ฯจำนวนเต็มเท่า ของ nhซึ่งเขียนได้ว่า 2 L = โมเมนตัมเชิงมุม me= มวลของอิเล็กตรอน v = ความเร็ว h = ค่าคงที่ของพลังค์

  36. 3. อิเล็กตรอนสามารถจะรับและปลดปล่อยพลังงานได้ เมื่อมีการ เปลี่ยนวงโคจร โดยค่าของพลังงานจะเท่ากับ ค่าของพลังงาน ที่แตกต่างกันของวงโคจรทั้งสอง คือ E = h = E2 – E1 eจากวงใน  วงนอก (รับพลังงาน) E เป็น + eจากวงนอก  วงใน (คายพลังงาน) E เป็น -

  37. 4. อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงโคจรดังกล่าวจะมีพลังงานค่าหนึ่งคงที่ และ ตลอดเวลาที่อยู่ในวงโคจรเดียวจะไม่ดูดพลังงาน หรือสูญเสีย พลังงานแต่อย่างใด ค่าพลังงานนี้คำนวณได้จากสมการ เมื่อ me = มวลของอิเล็กตรอน z = เลขเชิงอะตอม n = 1, 2, 3

  38. สำหรับ H จากสมการ ค่าในวงเล็บจะเป็นค่าค่งที่ = 2.18 x 10-11 erg หรือ 13.61 ev สำหรับรัศมีของอิเล็กตรอนในวงโคจรที่มีเลขควอนตัม n คือ r = n2a0 a0คือ ค่าคงที่ เรียกว่า “รัศมีอะตอมไฮโดรเจนของบอห์ร”

  39. ทฤษฎี Bohr มีข้อจำกัด คือใช้ได้ดีกับ H และไอออนที่มี ē เท่า H (He+, Li2+) เท่านั้น สมการ Rydberg ใช้ได้กับทุกอะตอม • = ความถี่ (Hz) • = เลขคลื่น (cm-1)  = ความยาวคลื่น (cm, nm) R = Rydberg constant = 109,678 cm-1

  40. อนุกรมในสเปกตรัมอะตอม H ตามสมการของ Rydberg

  41. อนุกรมในสเปกตรัมอะตอม H

  42. นิวเคลียส (p+n) e e e e e n = 4 321 แบบจำลองอะตอมตามทฤษฎีของบอห์ร แม้จะใช้ได้ดีกับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว แต่ไม่สามารถอธิบาย สเปกตรัมของอะตอมที่มีมากกว่าหนึ่งอิเล็กตรอนได้เลย นอกจากนี้วงโคจรวงกลมของอิเล็กตรอนยังไม่ตรงกับรูปร่าง ของโมเลกุลที่ได้จากการศึกษาทางรังสีเอกซ์อีกด้วย

  43. โครงสรางอะตอมตามหลักกลศาสตรคลื่นโครงสรางอะตอมตามหลักกลศาสตรคลื่น เดอบรอยล แสดงใหเห็นวาอิเล็กตรอนมีสมบัติเปนทั้งคลื่น และอนุภาค หรือที่เรียกวา ทวิภาวะ (dual nature) เมื่อเปนคลื่น ; v = λν เมื่อเปนอนุภาค ; λ = h/mv

  44. p.x  h/4 ไฮเซนเบิรก เสนอหลักความไมแนนอน (uncertainty principle) โดยมีใจความวา “ เราไมอาจทราบตําแหนงและความเร็วของอนุภาคเล็กๆ ขณะ เคลื่อนที่ ไดอยางถูกตองแนนอนทั้งสองอยางในเวลาเดียวกัน” ∆x คือ ความไมแนนอนของตําแหนง ∆p คือ ความไมแนนอนของโมเมนตัม

  45. Schrodinger เออ! สมการมัน แก้ยากนะ งั้นเอาไปใช้เลยดีกว่าเนอะ อธิบายธรรมชาติของ e ในอะตอม พบเลขควอนตัม (มี 4 ค่า)

  46. 1.เลขควอนตัมหลัก(Principal quantum number) • สัญลักษณ์ คือ n • แสดงระดับพลังงานหลัก • เป็นเลขจำนวนเต็ม (n = 1, 2, 3,……..) • เดิมเรียก Shell K, L, M

  47. 2.เลขควอนตัมเชิงมุม(Angularmomentum quantum number) • สัญลักษณ์ คือ l • บอกระดับพลังงานยอยของ e • l มีคา 0 ถึง (n – 1) เช่น n = 1, l = 0 n = 2, l = 0, 1 n = 3, l = 0, 1, 2 n = 4, l = 0, 1, 2, 3

  48. l =0 เรียกว่า s – orbital (sharp) l =1 เรียกว่า p – orbital (prinsiple) l =2 เรียกว่า d – orbital (diffuse) l =3 เรียกว่า f – orbital (fundamental)

  49. 3.เลขควอนตัมแม่เหล็ก(Magnetic quantum number) • สัญลักษณ์ คือ ml • บอกทิศทางการกระจายตัวของ e ในช่องว่าง ภายใต้อิทธิพลของสนามแม่เหล็ก • มีค่าตั้งแต่ -lถึง +lหรือ 2l + 1 • แต่ละค่าของ l จะมีระดับพลังงานเท่ากัน เรียกว่า degeneracy

  50. 2

More Related