1 / 25

การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน – สูงอายุ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12

การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน – สูงอายุ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12. นายนิตย์ ทองแพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญ การพิเศษ หัวหน้ากลุ่ม งานวิชาการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 12. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน.  พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการให้คำปรึกษา ใน Psychosocial clinic

huy
Télécharger la présentation

การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน – สูงอายุ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน – สูงอายุ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12 นายนิตย์ ทองแพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 12

  2. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงานการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยทำงาน พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการให้คำปรึกษา ใน Psychosocial clinic สร้างระบบการดูแลสุขภาพจิตและพฤติกรรมเสี่ยงในสถานประกอบการ ป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในที่ทำงาน (การติดสุรา/ยาเสพติด/ ความเครียด) สร้างและรักษาความสัมพันธ์ในครอบครัว เน้น

  3. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ พัฒนาการดูแลทางสังคมจิตใจสำหรับผู้สูงอายุ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เน้น

  4. การดูแลทางสังคมจิตใจ (Psychosocial Care) การดูแลทางจิตใจ อารมณ์สังคม และจิตวิญญาณของผู้ป่วย / ผู้รับบริการ ครอบครัวและผู้ดูแล โดยคำนึงถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้ป่วย / ผู้รับบริการ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในปัญหาหรือภาวะโรคและมีแนวทางการปรับตัวต่อปัญหาหรือความเจ็บป่วย รวมทั้งให้การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่บุคคลทั่วไป โดยใช้การสื่อสาร การสนับสนุนทางสังคมและการสร้างสัมพันธภาพเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินการ

  5. คลินิกให้การดูแลทางสังคมจิตใจ (Psychosocial Clinic) • ศูนย์หรือหน่วยงานที่ให้บริการปรึกษาหรือศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพที่ให้ความช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ ที่มีโครงสร้างประกอบด้วย สถานที่ให้บริการ และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการดูแลทางสังคมจิตใจด้วยการให้ความรู้ ให้คำปรึกษากับบุคคลทุกกลุ่มวัย ทั้งในและนอกโรงพยาบาล โดยครอบคลุมถึงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเพื่อนำไปสู่คุณภาพที่ดีขึ้นทางด้านจิตใจและสังคมของประชาชน

  6. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้กลุ่มที่เสี่ยงต่อการมีปัญหาสุขภาพจิตในทุกวัย ได้แก่ • ปัญหาท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น / ความรุนแรงในวัยรุ่น / • ปัญหาครอบครัว / ปัญหาการติดสารเสพติด / สุรา • ปัญหาโรคซึมเศร้าในวัย ได้รับการบำบัดทางจิตใจและดูแลช่วยเหลือแบบองค์รวม

  7. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้ผู้ป่วย/ผู้รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง และคลินิกพิเศษต่างๆ ได้รับการดูแลแบบองค์รวม • เพื่อให้บุคคลทั่วไป ได้รับการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข

  8. ขอบเขตบริการทางสังคมจิตใจขอบเขตบริการทางสังคมจิตใจ การให้บริการดูแลทางสังคมจิตใจในคลินิกให้คำปรึกษา การบริการดูแลทางสังคมจิตใจที่ผสมผสานไปกับคลินิกหรือบริการอื่นๆ ในโรงพยาบาล การให้บริการดูแลทางสังคมจิตใจในชุมชน เช่น การออกหน่วยให้คำปรึกษาในยามวิกฤต / ภัยพิบัติ การเยี่ยมบ้าน การจัดกิจกรรมรณรงค์สร้างความตระหนัก

  9. จัดระบบบริการการดูแลทางสังคมจิตใจจัดระบบบริการการดูแลทางสังคมจิตใจ 1.บุคลากร 2.สถานที่บริการ 3.ขีดความสามารถระบบบริการ การประเมินทางสังคมจิตใจ การให้การดูแลทางสังคมจิตใจ การส่งเสริมป้องกัน (เชิงรุก) การส่งต่อ การติดตามดูแล

  10. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ(Psychosocial Clinic)และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ

  11. นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบครบ ทั้ง 4 ด้าน

  12. ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ

  13. องค์ประกอบ 4 ด้าน 1. บุคลากร มีผู้รับผิดชอบการดูแลท่งสังคมจิตใจ ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามประเด็นสำคัญ เช่น สุรา ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม ความรุนแรง การให้การปรึกษา

  14. 2. บริการ มีการใช้กระบวนการดูแลทางสังคมจิตใจ และหรือ การให้การปรึกษาในประเด็นสุรา/ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม ความรุนแรง โรคเรื้อรัง/เอดส์ มีการส่งต่อข้อมูล/บริการ และติดตามเพื่อได้รับการดูแลต่อเนื่อง ทั้งทางด้านสังคมและจิตใจ เช่น การเยี่ยมบ้าน คลินิกสุขภาพจิตเคลื่อนที่ เป็นต้น

  15. 3. บูรณาการ มีการเชื่อมโยงระบบการดูแล ช่วยเหลือในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ในโรงเรียน( OHOS) ระบบการช่วยเหลือทางสังคม ผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวในศูนย์พึ่งได้ (OSCC)และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในคลินิกเรื้อรัง

  16. 4.ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต4.ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สำหรับกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาเฉพาะ เช่นการรณรงค์ ให้ความรู้ การอบรมเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การคัดกรอง และเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิต

  17. 4 ประเด็น • สุรา/ยาเสพติด • ท้องไม่พร้อม (วัยรุ่น) • ความรุนแรง OSCC • โรคเรื้อรัง/เอดส์

  18. เกณฑ์ • ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ ทุกกลุ่มวัย ครบทั้ง 4 ด้าน การคำนวณ A = จำนวนโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทั้งสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย ครบทั้ง 4 ด้าน B= จำนวนโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่ายบริการ A/ B *100

  19. QA • ปี 2557 ร้อยละ 30 ( 4 ด้าน * 4 ประเด็น) ร้อยละ 40 (4 ด้าน * 1 ประเด็น )

  20. การดำเนินงานของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพการดำเนินงานของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ • ร้อยละ30 ของรพช. ( 4 ด้าน * 4 ประเด็น) รพช. ที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัยที่มีองค์ประกอบครบทั้ง 4 ด้าน (บุคลากร บริการ บูรณาการและการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต) และครอบคลุมทั้ง 4 ประเด็น (สุรา ,ยาเสพติด / ท้องไม่พร้อม / ความรุนแรง / โรคเรื้อรัง ,เอดส์)

  21. การดำเนินงานของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพการดำเนินงานของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ • ร้อยละ40 ของรพช. ( 4 ด้าน * 1 ประเด็น) รพช. ที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัยที่มีองค์ประกอบครบทั้ง 4 ด้าน (บุคลากร บริการ บูรณาการและการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต) และไม่ครบทั้ง 4 ประเด็น (สุรา ,ยาเสพติด / ท้องไม่พร้อม / ความรุนแรง / โรคเรื้อรัง ,เอดส์)

  22. Psychosocial care ครอบคลุม 4 กลุ่ม (๑) การตั้งครรภ์วัยรุ่น/เพศ/เอดส์ (๒) ความรุนแรง(OSCC) (๓)สารเสพติด (๔) NCD clinic พัฒนาใน ๔ ประเด็น ๑.การพัฒนาบุคลากร ๒.การจัดบริการ ๓.การบูรณาการงาน ๔.การส่งเสริมป้องกัน

  23. ปัญหาอุปสรรค รอบ 6 เดือนแรก • ๑.โรงพยาบาลมีพื้นที่จำกัด ต้องใช้พื้นที่เดียวกันในการจัดคลินิกหลายคลินิก • ๒.รูปแบบรายงานมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย • ๓.ปัญหาในระบบส่งต่อผู้รับบริการ นัด/ติดตาม/เฝ้าระวัง/ส่งเสริม/ป้องกันช่วยเหลือเชิงรุก ๑.บูรณาการคลินิกต่างๆ เพื่อใช้พื้นที่เดียวกัน ๒.สรุปรายงานตามแบบฟอร์มปัจจุบัน/ประสานกรมฯแล้ว ๓.จัดทำทะเบียนผู้รับบริการเพื่อประโยชน์ในระบบส่งต่อ

  24. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย • 1. บูรณาการงานในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน เพื่อให้ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ(Psychosocial clinic) มีการให้บริการครบทุกด้าน • 2. บริการเชิงรุกในชุมชน เช่น การดำเนินการ ๑ โรงเรียน ๑ โรงพยาบาล ในโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้ดำเนินการ

  25. Thank you for your attention

More Related