html5-img
1 / 64

การประมาณการแรงงานด้วยวิธีโคโคโม

การประมาณการแรงงานด้วยวิธีโคโคโม. อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล. บทนำ. COCOMO ย่อมาจาก CO nstruction CO st MO del พัฒนาโดย โบแอม (ค.ศ. 1981 ) เรียกว่า COCOMO81 หรือ COCOMOI วัตถุประสงค์ เพื่อประมาณการแรงงานและเวลาที่ต้องใช้ในการพัฒนาซอฟแวร์

huy
Télécharger la présentation

การประมาณการแรงงานด้วยวิธีโคโคโม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประมาณการแรงงานด้วยวิธีโคโคโมการประมาณการแรงงานด้วยวิธีโคโคโม อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล

  2. บทนำ • COCOMOย่อมาจาก COnstruction COst MOdelพัฒนาโดย โบแอม (ค.ศ.1981) เรียกว่า COCOMO81หรือ COCOMOI • วัตถุประสงค์ เพื่อประมาณการแรงงานและเวลาที่ต้องใช้ในการพัฒนาซอฟแวร์ • ปี ค.ศ.2004 โบแอม ได้พัฒนาปรับปรุงตัวแบบ COCOMOใหม่ให้สอดคล้องกับวิธีการพัฒนาซอฟแวร์ที่เปลี่ยนไปจากเดิม ตัวแบบใหม่เรียกว่า COCOMO2000หรือ COCOMOII

  3. COCOMOI • COCOMOIเป็นตัวแบบที่ประมาณการแรงงาน (effort)และระยะเวลาที่ใช้จำนวนบรรทัดของโปรแกรม (LOC) • ประกอบด้วยตัวแบบ 3 แบบ คือ 1.ตัวแบบระดับพื้นฐาน (Basic Model) 2.ตัวแบบระดับกลาง (Intermediate model) 3.ตัวแบบระดับสูง (Advance Model)

  4. ตัวแบบระดับพื้นฐาน ประมาณการแรงงาน โดยไม่มีตัวปรับค่า • ตัวแบบระดับกลาง เป็นตัวแบบที่มีการพัฒนาจากตัวแบบระดับพื้นฐาน แต่มีความละเอียดมากขึ้น โดยมีการปรับค่าที่ได้จากตัวแบบแรกด้วยตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย (Cost Driven) • ตัวแบบระดับสูง มีการประมาณการแบบเดียวกับตัวแบบระดับกลาง แต่การคำนวณแรงงาน และการประเมินตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย จะทำในแต่ละเฟสของการพัฒนาระบบงาน

  5. ขั้นตอนการประมาณการ 1.จัดประเภทของระบบงานที่กำลังพิจารณา มี 3 ประเภท 1.1 ประเภทออกานิก (Organic Model) 1.2 ประเภทเซมิดีเทช (Semi-detached Model) 1.3 ประเภทเอมเบดเด็ด (Embedded Model) 2.คำนวณหาแรงงานปกติ และระยะเวลาการพัฒนาระบบงาน 3.คำนวณหาปัจจัยปรับแรงงาน (Effort Adjustment Factor)

  6. 1.1ประเภทออกานิก (Organic Model) • ทีมงานที่พัฒนามีขนาดเล็ก • ระบบงานมีขนาดเล็ก ประมาณไม่เกิน 50 KLOC • พัฒนาภายในสภาวะแวดล้อมภายในองค์กร (in-house environment) • ทีมงานมีความคุ้นเคย หรือมีประสบการณ์กับระบบงานที่จะพัฒนา • สามารถต่อรอง ขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดของซอฟแวร์ได้ • ระบบงานพัฒนาอยู่บนสภาพแวดล้อมที่คงที่ (static environment) • อัลกอริทึมของการประมวลผลไม่มีความซับซ้อน • ระยะเวลาในการพัฒนาไม่เป็นตัวกดดันต่อผู้พัฒนามากนัก

  7. 1.2ประเภทเซมิดีเทช (Semi-detached Model) • คนในทีม มีทั้งคนที่มี และไม่มีประสบการณ์ในระบบงานที่กำลังพัฒนา • คนในทีมทุกคนมีประสบการณ์ในระบบงานที่เกี่ยวข้องปานกลาง • มีแรงกดดันจากระยะเวลาของโครงการบ้าง • ระบบงานมีขนาดปานกลาง ประมาณไม่เกิน 300 KLOC • อัลกอริทึมของการประมวลผลมีความซับซ้อนพอประมาณ

  8. 1.3 ประเภทเอมเบดเด็ด (Embedded Model) • ทีมงาน ไม่มีความคุ้นเคย หรือไม่มีประสบการณ์กับระบบงานที่จะพัฒนา • ข้อกำหนดของระบบงานที่พัฒนา ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องมาจากข้อจำกัดต่างๆ • ต้องพัฒนาระบบงานที่ทำงานร่วมกับอุปกรณ์เฉพาะ หรือระบบพัฒนาขึ้นโดยผูกกับกฎ ระเบียบ หรือขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเคร่งครัด • ต้องพัฒนาระบบงานภายในเวลาที่กำหนด • อัลกอริทึมของการประมวลผลมีความซับซ้อน • ต้องทดสอบความถูกต้องอย่างมาก

  9. การคำนวณหาแรงงาน และระยะเวลา • ตัวแบบพื้นฐาน แรงงาน (คน-เดือน) = axKLOCb ระยะเวลาการพัฒนา = cXแรงงานd โดยที่ a, b, c, dมีค่าตามตาราง

  10. ตาราง แสดงค่าพารามิเตอร์สำหรับตัวแบบระดับพื้นฐาน

  11. ตัวอย่างระบบงานมีขนาด 33.3 KLOCเป็นระบบแบบเซมิดีเทช จงคำนวณหาแรงงาน ระยะเวลา และจำนวนคน • แรงงาน (คน-เดือน) = 3.0 x KLOC1.12 =3.0 x 33.31.12 = 152คน-เดือน • ระยะเวลา = 2.5 x 152 =14.5เดือน • จำนวนคน = 152/14.5 =11คน

  12. ตัวแบบระดับกลาง แรงงาน (คน-เดือน) = a xKLOCbxตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย ระยะเวลาการพัฒนา = c Xแรงงานd โดยที่ a, b, c, d มีค่าตามตาราง

  13. ตัวอย่าง • จากการประมาณขนาดซอฟแวร์ ของโครงการแบบ organicพบว่า • data entry 0.6 KLOC • data update 0.6 KLOC • query 0.8 KLOC • report gen. 1.0 KLOC • TOTAL 3.0 KLOC • cost driver attribute • Complexity high 1.15 • Storage high 1.06 • Experience low 1.13 • Programmer capability low 1.17

  14. ตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย = = • แรงงาน (คน-เดือน) =axKLOCbxตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย = = • ระยะเวลา =c Xแรงงานd =

  15. การคำนวณหาปัจจัยปรับแรงงานการคำนวณหาปัจจัยปรับแรงงาน • ถ้าการคำนวณแรงงาน ใช้ตัวแบบระดับกลาง ผู้จัดการโครงการต้องปรับค่าของแรงงานปกติ ที่คำนวณได้จากข้อ 2ด้วยปัจจัยปรับแรงงาน ซึ่งได้จากตัวขับเคลื่อนค่าใช้จ่าย (Cost Driver) ที่มี 15ตัว แบ่งออกเป็น 4กลุ่ม ดังตาราง

  16. ตัวขับเคลื่อนคาใชจายแตละตัว จะมีอัตราแตกตางกัน ตั้งแตต่ำมาก (very low) จนกระทั่ง สูงเปนพิเศษ (extra high) • ผูจัดการโครงการจะตองระบุใหไดวาตัวขับเคลื่อนคาใชจายแตละตัวมีคา เทาไร แลวจึงนําคาของตัวขับเคลื่อนคาใชจายทุกตัวมาคูณกัน • จากนั้นจึงนําผลคูณของตัวขับเคลื่อนคาใชจายทั้งหมดไปคูณกับแรงงานปกติที่ไดจากขอ 2 • ตารางที่ 6.11 และ 6.12 จะชวยใหผูจัดการโครงการสามารถกําหนดระดับของตัวขับเคลื่อนคาใชจายแตละตัว เชน ความเชื่อถือของระบบงาน (RELY) จะไดระดับสูงมาก (1.40) ถาระบบงานนั้นมีผลกระทบตอ ชีวิตมนุษย หรือสถานภาพการเงินของงคการอยางรุนแรง

  17. แตถาระบบงานลมเหลวแลวมีผลเพียงแคทําใหเกิดความไมสะดวกในการทํางานเทานั้นคาระดับของ RELYในกรณีนี้จะต่ำมาก (0.75) สําหรับความซับซอนของระบบงาน (CPLX) นั้น • ผูจัดการโครงการจะกําหนดระดับของตัวขับเคลื่อนคาใชจายไดโดยพิจารณาจากตารางที่ 6.12 ถาระบบงานมีการคํานวณที่มีสูตรการคํานวณทางคณิตศาสตรหรือสถิติที่ซับซอน คาระดับของ CPLXจะสูงมาก (1.30) • แตถาเปนการคํานวณงายๆ คาระดับของ CPLXจะต่ำ (0.70) สวนตารางที่ 6.13คือ ตัวอยางการกําหนดระดับและคาของตัวขับเคลื่อน คาใชจาย

  18. COCOMOII • โบแอมไดพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาซอฟตแวรหรือระบบงาน ในปจจุบันที่มีวิธีการพัฒนาที่แตกตางไปจากป ค.ศ. 1981 • COCOMO81 มีสมมติฐานวา ซอฟตแวรพัฒนาตามกระบวนการแบบ น้ำตก และซอฟตแวรสวนใหญพัฒนาจากจุดเริ่มตนทั้งหมด เมื่อมีการ เปลี่ยนวิธีการพัฒนาซอฟตแวรอย่างมากมายตั้งแตรุนแรกที่นําเสนอผูใช เชน การพัฒนาใชวิธีการพัฒนาตนแบบ (prototyping) • การพัฒนาโดยการนําซอฟตแวรแตละสวนมาประกอบเปนระบบงาน (components composition) หรือการพัฒนาดวยภาษารุนที่ 4 (4th generation language) ระบบงานเดิมที่มีอยูถูกรื้อปรับเพื่อสราง ซอฟตแวรใหม

  19. ดังนั้น ตัวแบบที่กําหนดใน COCOMOI จึงไมเหมาะสมกับวิธีการพัฒนาแบบใหมดังกลาว • โบแอมจึงทําการวิจัยและนําเสนอตัวแบบใหมสําหรับการประมาณการแรงงาน ตัวแบบใหมจึงเรียก COCOMOIIซึ่งมี 3 ตัวแบบ • COCOMOIIเปนตัวแบบสําหรับการประมาณการเปนระยะๆ ตามรายละเอียดของขอมูลที่ผูจัดการโครงการ/นักวิเคราะหระบบไดรับ ซึ่งจะทําใหการปรับคาแรงงานที่ตองใชใกลเคียงความเปนจริงมากยิ่งขึ้น

  20. ตัวแบบ 3 ระดับของ COCOMOIIได้แก่ 1.ระยะการพัฒนาต้นแบบช่วงต้น 2.ระยะการออกแบบช่วงต้น 3.ระยะหลังจากการออกแบบสถาปัตยกรรม

  21. 1.ระยะการพัฒนาต้นแบบช่วงต้น1.ระยะการพัฒนาต้นแบบช่วงต้น • เป็นตัวแบบที่ใช้สำหรับการประมาณแรงงาน ในช่วงเริ่มต้นโครงการ ผู้จัดการโครงการ ยังไม่ทราบรายละเอียดของระบบงาน แต่ทราบฟังก์ชันงานคร่าวๆ • การประมาณการจึงใช้ อ็อบเจกต์พอยต์ (Object Points) ตัวแบบนี้เหมาะกับการพัฒนาระบบด้วยวิธีการใช้ซอฟแวร์ต่างๆที่มีมาประกอบกัน

  22. 2.ระยะการออกแบบช่วงต้น2.ระยะการออกแบบช่วงต้น • เป็นตัวแบบที่ใช้สำหรับประมาณแรงงาน เมื่อผู้จัดการโครงการ ทราบความต้องการแล้ว • การประมาณการนี้ จะประมาณการโดยใช้ฟังก์ชันพอยต์ แล้วปรับเป็น LOCและมีชุดของปัจจัยที่ไม่ยุ่งยากมาใช้ในการปรับค่าที่ได้ประมาณการ

  23. 3.ระยะหลังจากการออกแบบสถาปัตยกรรม3.ระยะหลังจากการออกแบบสถาปัตยกรรม • เป็นตัวแบบที่ใช้ในการประมาณการขนาดของซอฟแวร์ ให้แม่นยำมากขึ้นหลังจากออกแบบสถาปัตยกรรมระบบงานแล้ว • ตัวแบบของระดับนี้ มีสูตรคำนวณ เช่นเดียวกับระดับการออกแบบระยะแรก แต่มีชุดของปัจจัยที่เข้มข้นมาปรับค่าอีกชุด

  24. แรงงาน การประมาณการแรงงาน สำหรับระยะการพัฒนาต้นแบบช่วงต้น • ตัวแบบการคำนวณแรงงาน คือ โดยที่ PM =แรงงาน (คน-เดือน) NOP =อ็อบเกจต์พอยต์ใหม่ (New Object Point) %reuse =ร้อยละของซอฟแวร์ที่นำกลับมาใช้ใหม่ PROD =ผลผลิตเพิ่ม

  25. ขั้นตอนการคำนวณ 1.นับจำนวนอ็อบเจกต์พอยต์ ที่ประกอบกันเป็นระบบงาน อ็อบเจกต์ได้แก่ จอภาพ รายงาน และส่วนประกอบที่เป็น 3 GL (3 General Language) 2.จัดระดับของอ็อบเจกต์แต่ละอ็อบเจกต์ ซึ่งมี 3ระดับคือ ง่าย ปานกลาง และยาก การจัดว่าแต่ละอ็อบเจกต์อยู่ในระดับใด ให้พิจารณาตามประเภทของ อ็อบเจกต์ ออกเป็น 2ประเภทคือ จอภาพ และรายงาน

  26. ระดับของอ็อบเจกต์ แต่ละประเภท แสดงดังตาราง

  27. 3. ให้น้ำหนักความยาก-ง่าย ของแต่ละอ็อบเจกต์ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงแรงงานที่ต้องใช้ในการสร้างอ็อบเจกต์นั้นๆ น้ำหนักความยากง่าย ของอ็อบเจกต์ แต่ละประเภทแสดงดังตาราง

  28. 4.หาผลรวมของอ็อบเจกต์พอยต์ หลังจากถ่วงน้ำหนักของอ็อบเจกต์พอยต์ทุกๆตัวแล้ว 5.ประมาณร้อยละของการนำโปรแกรมกลับมาใช้หใม่ แล้วคำนวณหาอ็อบเจกต์พอยต์ใหม่ที่ต้องพัฒนา (NOP)โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้ 6.กำหนดระดับผลผลิตเพิ่ม (PROD) โดยที่ PROD หาได้จากตาราง 7.ประมาณการ แรงงานที่ต้องใช้ (PM) = NOP/PROD

  29. การประมาณการแรงงาน สำหรับระยะการออกแบบช่วงต้น • ตัวแบบการประมาณแรงงาน ระดับนี้คือ แรงงาน (effort) =2.94 X sizeB x M + PMauto โดยที่ sizeคือ ขนาดของระบบงานวัดเป็นกิโลบรรทัด (KLOC)ซึ่งคำนวณได้จากจำนวนฟังก์ชันพอยต์ Mคือ ผลคูณของตัวคูณแรงงาน (effort multipliers)เพื่อปรับค่าของแรงงานให้สอดคล้องกับลักษณะของระบบงานและโครงการ ตัวคูณมีทั้งหมด 7ตัวคือ

  30. RCPXความน่าเชื่อถือและความซับซ้อนของระบบงาน (Reliability and complexity) • RUSEโปรแกรมที่นำกลับมาใช้ใหม่ (reuse requires) • PDIFความยากของแพล็ตฟอร์ม (Platform difficulty) • PERS ความสามารถของบุคลากร (Personal Capability) • PREXประสบการณ์ของบุคลากร (Personal Experience) • FCILสิ่งอำนวยความสะดวกในการพัฒนาระบบงาน (SupportFacilities) • SCEDแรงกดดันจากตารางเวลาการพัฒนา (Schedule) M = PERS x RCPX x RUSE x PDIF x PREX x FCIL x SCED

More Related