1 / 16

ศาสตราจารย์ ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน

การเขียนเค้าโครงวิจัยให้ได้ทุนและเป็นเลิศ. ศาสตราจารย์ ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน. คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม นิด้า และ ผอ. โครงการวิจัยแม่บท : การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย. การวิจัย คือ อะไร เค้าโครงการวิจัย : หน้าที่ และ ลักษณะสำคัญ เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานเค้าโครงการวิจัย

Télécharger la présentation

ศาสตราจารย์ ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนเค้าโครงวิจัยให้ได้ทุนและเป็นเลิศการเขียนเค้าโครงวิจัยให้ได้ทุนและเป็นเลิศ ศาสตราจารย์ ดร. ดวงเดือน พันธุมนาวิน คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม นิด้า และผอ. โครงการวิจัยแม่บท: การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย การวิจัย คือ อะไร เค้าโครงการวิจัย: หน้าที่ และ ลักษณะสำคัญ เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานเค้าโครงการวิจัย ปัญหาที่ปรากฎในเค้าโครงการวิจัย การเตรียมการเพื่อความสำเร็จของนักวิจัย วันที่ 8 ธันวาคม 2549 ณ โรงแรมตักกะศิลา จังหวัดมหาสารคาม

  2. “อะไร เกี่ยวข้องกับ อะไร • อะไรคือสาเหตุ อะไรคือผล 1. การแสวงหา “ความจริง” 2. “การตีความ” ข้อความ จริงเหล่านั้น เพราะเหตุใด จึงเกี่ยวข้องกัน เพราะเหตุใด จึงเป็นสาเหตุ-ผลกัน การวิจัย (Research) คือ อะไร (Leedy, 1974 หน้า 5-8)

  3. สร้างองค์ความรู้ใหม่ สาเหตุ-สาเหตุ- -ผล-ผล สาเหตุ-ผล ประโยชน์ของการวิจัย ใช้ในงานที่ปรึกษา การทำวิจัยแก่นศ. ทำให้การสอน ลึกซึ้ง แตกฉาน ช่วยให้การเขียนบทความวิชาการ เขียนตำรา ให้เข้ามาตรฐานสูง ใช้ในการพัฒนา นักศึกษา เยาวชน ประชาชนไทย ภาพ ประโยชน์ 5 ประการ ของการทำวิจัยในอาจารย์อุดมศึกษา

  4. หน้าที่ ของ เค้าโครงการวิจัย 1. เพื่อการสื่อความ 2. เพื่อการวางแผนปฏิบัติ 3. เพื่อเป็นสัญญาผูกมัด ลักษณะ ของ Research Proposal 1. มีเนื้อหาตรงไปตรงมา 2.มิใช่วรรณกรรม 3. จะต้องเรียบเรียงเนื้อหา ตามหัวข้อที่กำหนดเป็นสากล ซึ่งมีระบบระเบียบ อย่างชัดเจน

  5. หัวข้อของเค้าโครงการวิจัยหัวข้อของเค้าโครงการวิจัย 1. ความสำคัญของปัญหาการวิจัย และที่มา 2. ปัญหาการวิจัย หลัก - รอง (จุดมุ่งหมายของการวิจัย) 3. การประมวลเอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ตัวแปร และนิยามปฏิบัติการ 5. สมมติฐาน 6. กลุ่มตัวอย่างและวิธีสุ่ม 7. การสร้าง และหาคุณภาพ ของเครื่องมือวัด 8. วิธีสร้างสาเหตุวิธีวัดผล 9.วิธีดำเนินการวิจัย 10.สถิติที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 11. แผนการดำเนินงาน 12. บรรณานุกรมและ 13. ภาคผนวก

  6. เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานเค้าโครงการวิจัย (ขั้นต้น)

  7. เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานเค้าโครงการวิจัย (ขั้นต้น)

  8. เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานเค้าโครงการวิจัย (ขั้นต้น) ขั้นต่อมา พิจารณารายละเอียด 8 ถึง 12 จุด

  9. ปัญหาที่ปรากฎในเค้าโครงการวิจัยที่ขอทุนปัญหาที่ปรากฎในเค้าโครงการวิจัยที่ขอทุน 1. ชื่อเรื่องวิจัย ไม่เป็นงานวิจัย 2. ผู้เสนอยังไม่ได้เจียรนัยปัญหาทางการวิจัยของตน ให้ “คม-ชัด-ลึก” 3. การประมวลเอกสารไม่เข้ามาตรฐานที่จะนำมาเป็น พื้นฐานการวิจัยของตน 4. ทำวิจัยนอกสาขาของตน และไม่ประมวลเอกสารในสาขา ที่ตนข้ามไปทำวิจัย 5. การวิจัยขั้นสูงต้องมีสมมติฐานทางการวิจัย (มีต่อ)

  10. ปัญหาที่ปรากฎในเค้าโครงการวิจัยที่ขอทุนปัญหาที่ปรากฎในเค้าโครงการวิจัยที่ขอทุน 6. ควรมีการพัฒนาเค้าโครงการวิจัย โดยผู้เชี่ยวชาญ ก่อนให้ทุน 7. ผู้เสนอไม่ได้เตรียมตัวเขียนเค้าโครงการวิจัยให้ถูกต้อง ตามแบบฟอร์มที่เข้ามาตรฐาน 8. เขียนสั้นเกินไป จนไม่มีรายละเอียดพอที่กรรมการจะ พิจารณาได้ 9. ไม่บอกปริมาณและคุณภาพของงาน เช่น ขนาดของกลุ่ม ตัวอย่าง จำนวนตัวแปร วิธีการวิเคราะห์ตามสมมติฐาน จึงไม่สามารถจะพิจารณาระยะเวลาการวิจัย และทุนที่ ควรจะได้รับ

  11. การเตรียมตัวเพื่อความสำเร็จของนักวิจัยการเตรียมตัวเพื่อความสำเร็จของนักวิจัย • ศึกษาและทำตามนโยบาย ของฝ่ายที่ให้ทุนวิจัย • ปรึกษาผู้เกี่ยวข้อง เช่น จนท.ในหน่วยที่ให้ทุน หรือผู้ที่ • เคยได้รับทุนมาก่อน • ประมวลเอกสารให้ลึกและสมบูรณ์ที่สุด และพัฒนา • ความคิด – ทักษะของตนตามไปด้วย • ในการแข่งขัน ผู้ทุ่มเทความพยายามมาก จนได้งานที่ • เป็นเลิศ คือ ผู้ชนะ

  12. คุณภาพ ของ ปัญหาทางการวิจัย  คุณภาพ ของ การประมวลเอกสาร กลุ่มตัวอย่างเหมาะสม  ภาพ โซ่ 7 ห่วง แสงดงความน่าเชื่อถือของงานวิจัย (Mayo & La France, 1977) คุณภาพ ของ เครื่องมือวัดตัวแปร  วิธีดำเนินการวิจัย  การวิเคราะห์ข้อมูล เหมาะสม การตีความข้อมูล เหมาะสม  

  13. เกณฑ์ที่ 3 • การเพิ่มองค์ความรู้ใหม่ เช่น • ปัญหาทางการวิจัยมีความสำคัญ/ไม่ซ้ำซ้อน • มีการสร้างแบบวัดใหม่ๆ ที่มีคุณภาพสูง • มีการสร้างสาเหตุใหม่ๆ ที่มีผลดี เกณฑ์ที่ 2 • ผลวิจัยชัดเจน เช่นพบ • ความแตกต่างมาก • ความสัมพันธ์มีค่าสูง • เปอร์เซนต์ทำนายมากกว่า 40% ขึ้นไป เกณฑ์ที่ 1 โซ่ 7 ห่วงของงานวิจัย แสดงว่ามี Internal Validity สูงทำให้ผลวิจัยน่าเชื่อถือ ภาพ 1 เกณฑ์ 3 ข้อ ในการพิจารณา รายงานการวิจัยที่สมควรได้รับ รางวัล ด้านระบบพฤติกรรมไทย

  14. ข้อ1 ข้อ 2 ข้อ 4 รางวัล ข้อ 3 ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ชมเชย เป็นการคิดค้น ขึ้นใหม่ มีแนวความ คิดริเริ่ม เพิ่มองค์ความรู้ ด้านวิชาการ มีประโยชน์ ต่อวงวิชาการ หรือ สังคมส่วนรวม ค้นพบกระบวนวิธี หรือกรรมวิธีของ การผลิตที่เป็น ประโยชน์ต่อ สาขาวิชา หรือ การผลิต ผลิตภัณฑ์ และการบริการใหม่ หรือปรับปรุงแก้ไข กระบวนวิธีเดิมอย่างสำคัญ ก่อให้เกิดทฤษฎี หรือแนวคิดใหม่ๆ หรือหักล้างทฤษฎีเดิม หรือ แก้ไขเพิ่มเติม ทฤษฎีเดิมในสาระสำคัญ สร้างวิธีวิจัยใหม่ๆ เครื่องมือวิจัยใหม่ๆ หรือ หักล้างวิธีการ วิจัยเดิมๆ หรือ แก้ไขเพิ่มเติม วิจัยเดิมในสาระสำคัญ เป็นผลวิจัยที่มีคุณภาพสูง ใช้วิธีวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ที่เหมาะสมยิ่ง เป็นผลงานวิจัยที่สำเร็จสมบูรณ์ ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ระดับชาติ/นานาชาติ หรือเสนอในการประชุมวิชาการแล้ว วิจัยที่ควรส่ง เข้าพิจารณา ภาพ เกณฑ์กลางของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในการพิจารณารางวัล ใน 10 สาขา

  15. ระดับ “ดีเด่น” ข้อ 1-5 ของ เกณฑ์ ระดับ “ดีมาก” 6. เป็นงานบุกเบิก ที่มีคุณค่ายิ่ง ทำให้เกิดความก้าวหน้าทาง วิชาการระดับสูง 7. เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ หรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องใน ระดับชาติ และ/หรือ ระดับนานาชาติ ตำแหน่ง “ศาสตราจารย์” ที่ส่ง งานวิจัย เท่านั้น ระดับ “ดีมาก” ตำแหน่ง “ศาสตราจารย์” ที่ส่งทั้ง งานวิจัย และ ตำรา “รองศาสตราจารย์” ที่ส่ง งานวิจัย เท่านั้น ข้อ 1-3 ของ เกณฑ์ ระดับ “ดี” 4. เป็นผลงานที่แสดงถึงความรู้ใหม่ ที่ลึกซึ้งกว่างานเดิมที่เคยมี ผู้ศึกษาแล้ว 5. เป็นประโยชน์ด้านวิชาการอย่างกว้างขวาง หรือสามารถนำไป ประยุกต์ได้อย่างแพร่หลาย ระดับ “ดี” ตำแหน่ง “รองศาสตราจารย์ ที่ส่ง งานวิจัย และตำรา และ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” 1. มีความถูกต้องเหมาะสม ทั้งในระเบียบวิธีการวิจัย การวิเคราะห์ผล และการนำเสนอ 2. แสดงความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือ นำไปประยุกต์ได้ 3. ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.ม. กำหนด ภาพ 2 คุณภาพ ของผลงานวิจัย 3 ระดับ เพื่อกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ

  16. พัฒนาตนเอง พัฒนางานวิจัย 1) ยอมรับว่า เท่าที่เรียนมา ทำมา ไม่เพียงพอ รับทุนที่วิจัยที่มีกระบวนการพัฒนานักวิจัย ประกอบด้วย 2) ต้องทราบมาตรฐาน วิจัยที่ก้าวหน้าขึ้นทุกที ทำวิจัยเรื่องต่อๆ ไป ต้องก้าวหน้า ขั้นสูงกว่าเรื่องเดิมๆ ทำวิจัยในประเด็นใหญ่ ต่อยอดกันขึ้นไป จนประยุกต์ใช้พัฒนาได้ 3) ต้องพัฒนาตนเองทั้งโดย ส่วนตัวและโดยอาศัยระบบ ทำวิจัยสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง มิใช่เพื่อตำแหน่ง หรือรางวัล 4) พัฒนาตนเองอย่างไม่หยุดยั้ง และช่วยพัฒนาผู้อื่นด้วย ภาพ ทำอย่างไร ให้ “งานวิจัย” มีมาตรฐานสูง

More Related