1 / 23

บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด

บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด. การกำหนดราคาสินค้าในตลาด. โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ I. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( P erfect competition) II. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect competition) - ตลาดผูกขาด (Pure monopoly)

ira-levy
Télécharger la présentation

บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด

  2. การกำหนดราคาสินค้าในตลาดการกำหนดราคาสินค้าในตลาด • โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ I. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์(Perfect competition) II. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์(Imperfect competition) - ตลาดผูกขาด(Pure monopoly) - ตลาดผู้ขายน้อยราย(Oligopoly) - ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด(Monopolistic competition)

  3. การแบ่งโครงสร้างของตลาดพิจารณาจากเงื่อนไขต่างๆ ดังนี้ • จำนวนผู้ขายในตลาด • ความแตกต่างของสินค้า • ความยากง่ายในการเข้าสู่ตลาด

  4. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้ • มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากราย • ลักษณะของสินค้ามีลักษณะใกล้เคียงกันมาก (homogeneous product) • การเข้าออกจากตลาดทำได้โดยเสรี (free entry) เงื่อนไข 3 ข้อข้างต้น ทำให้ผู้ขายไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าได้ • ผู้ซื้อและผู้ขายต่างมีความรู้เรื่องตลาดเป็นอย่างดี (perfect knowledge) • การเคลื่อนไหวของสินค้าและปัจจัยการผลิตเป็นไปอย่างเสรี (free mobility)

  5. ลักษณะของเส้นอุปสงค์ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายเป็นผู้ยอมรับราคา P P S P=D=AR=MR E Pe Pe D Q 0 Qe 0

  6. ดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้นดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้น ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ที่ต้องการกำไรสูงสุด จะมีเงื่อนไขดังนี้ คือ ผลิตที่ปริมาณการผลิต MR = MC Profit = TR-TC, Profit/Q = TR/Q-TC/Q =AR-AC

  7. กรณีที่ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ (Normal Profit) • เงื่อนไขการผลิตที่ผู้ผลิตได้รับกำไรสูงสุด คือ MR = MC

  8. กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติกรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติ • กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายขาดทุน

  9. กรณีที่ผู้ผลิตขาดทุน • ที่จุด Cผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่บางส่วน • ที่จุด D ผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่ทั้งหมด

  10. การผลิตในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติ LMC=MR, LAC=AR

  11. ตลาดผูกขาด (Monopoly) • โครงสร้างของตลาดผูกขาด - มีผู้ผลิตหรือผู้ขายรายเดียว - สินค้าของผู้ผลิตไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ - การเข้ามาแข่งขันในตลาดทำไม่ได้ - เส้นอุปสงค์ของตลาดเป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ในสินค้าของผู้ผลิต

  12. ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด • เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR

  13. ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด • เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR

  14. สรุป • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ - ระยะสั้น ผู้ผลิตอาจได้รับกำไรปกติ กำไรเกินกว่าปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด - ระยะยาว ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติเท่านั้น • ตลาดผูกขาด - ในระยะสั้นผู้ผลิตจะได้รับกำไรเกินปกติ, กำไรปกติ หรือขาดทุน ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด -ในระยะยาวผู้ผลิตมีแนวโน้มจะได้รับกำไรเกินปกติ

  15. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดและตลาดผู้ขายน้อยรายOligopoly and Monopolistic competition

  16. ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด • ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - สินค้าของผู้ขายมีความแตกต่างกัน เช่น รูปแบบของผลิตภัณฑ์ต่างกัน หรือ การบรรจุหีบห่อแตกต่างกัน - มีผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมากราย และผู้ขายแต่ละคนสามารถควบคุมราคาสินค้าได้บ้าง - การแข่งขันทางด้านการขาย จะอาศัยการโฆษณาส่งเสริมการขาย -เส้นอุปสงค์ในสินค้าเป็นเส้นทอดลงจากซ้ายมาขวา มีค่าความชันเป็นลบ แต่จะมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าตลาดผูกขาด

  17. ดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

  18. ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด

  19. สรุป • ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - ระยะสั้น ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรเกินปกติ (P is higher than P in Perfect competitive market but lower than P in Monopoly, Q is less than Q in PC but greater than P in Monopoly) - ระยะยาว ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรปกติ

  20. ตลาดผู้ขายน้อยราย • มีผู้ขายเพียง 2-3 รายในตลาด • สินค้าอาจจะเหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ได้ แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ • ผู้ผลิตขาดอิสระในการกำหนดราคา มักจะรวมหัวกันตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดร่วมกัน ดังนั้นราคาจะตายตัว • เส้นอุปสงค์ของสินค้าเป็นเส้นหักงอ

  21. ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยรายดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย

  22. ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยรายดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย • ปริมาณ และ ราคาดุลยภาพ ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ และความยากง่ายที่ผู้ผลิตใหม่จะเข้าสู่ตลาด • เน้นการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา (โฆษณาพัฒนาคุณภาพสินค้า )

More Related