1 / 16

การวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธี แมนเทล - แฮนส์เซล (Mantel-Heanszel Produrc)

การวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธี แมนเทล - แฮนส์เซล (Mantel-Heanszel Produrc). อมลณัฐ อุบลรัตน์. วิธีแมนเทล-แฮลส์เซล.

Télécharger la présentation

การวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธี แมนเทล - แฮนส์เซล (Mantel-Heanszel Produrc)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธีการวิเคราะห์ความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธี แมนเทล-แฮนส์เซล (Mantel-Heanszel Produrc) อมลณัฐ อุบลรัตน์

  2. วิธีแมนเทล-แฮลส์เซล เป็นเทคนิคที่แมนเทล-แฮนส์เซลได้เสนอขึ้นใช้ตั้งแต่ ปี 1959 แต่ฮอลแลนด์และเทเยอร์(Holland and Thayer) นำเสนอมาเพื่อใช้การตรวจสอบความลำเอียงของข้อสอบในปี 1988 และในปีนั้นก็ได้มีการตรวจสอบความลำเอียงของข้อสอบด้วยวิธีแมนเทล-แฮนส์เซล หรือเรียกย่อ ๆ ว่า MH

  3. วิธีแมนเทล-แฮลส์เซล • มีความคล้ายคลึงกับวิธีไคสแควร์ที่เสนอโดย ชูเนแมน • เป็นการเปรียบเทียบผลการตอบข้อสอบของกลุ่มผู้สอบ 2 กลุ่ม เสียประโยชน์จากข้อสอบในกรณีที่ข้อสอบมีความลำเอียงโดยมีการตรวจสอบทุก ๆ ระดับคะแนนรวมจากการสอบข้อสอบ

  4. วิธีการในการตรวจสอบ แทนจำนวนผู้สอบในกลุ่มอ้างอิงที่มีคะแนนรวมในช่อง คะแนน j แทนจำนวนผู้สอบในกลุ่มเปรียบเทียบที่มีคะแนนรวมในช่อง คะแนน j เป็นจำนวนผู้สอบรวมทั้ง 2 กลุ่มที่ได้คะแนนรวม จากการสอบข้อสอบที่ I

  5. ตารางสองทางแสดงผลการตอบถูก (1) และผิด (2)

  6. หลักการวิเคราะห์ นำตารางมาคำนวณค่าความน่าจะเป็น ในรูปของค่าสัดส่วนการตอบถูกผิดระหว่าง กลุ่มโดย กำหนด ให้เป็นค่า

  7. แทนจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่ม 1 ที่ระดับคะแนน j สูตรในการคำนวณ แทนจำนวนผู้ตอบผิดในกลุ่ม 1 ที่ระดับคะแนน j แทนจำนวนผู้ตอบถูกในกลุ่ม 2 ที่ระดับคะแนน j

  8. สูตรในการคำนวณ แทนจำนวนผู้ตอบผิดในกลุ่ม 2 ที่ระดับคะแนน j แทนจำนวนผู้ตอบข้อสอบทั้งหมด ที่ระดับคะแนน j

  9. เกณฑ์พิจารณาความลำเอียงเกณฑ์พิจารณาความลำเอียง ข้อสอบไม่มีความลำเอียง ข้อสอบลำเอียงเข้าข้าง กลุ่มเปรียบเทียบ ข้อสอบลำเอียงเข้าข้าง กลุ่มอ้างอิง

  10. การทดสอบนัยสำคัญของค่าสถิติไคสแควร์ • ที่คำนวณได้ว่าแตกต่างจาก 1 อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือไม่ • ที่ระดับชั้นความเป็นอิสระเท่ากับ 1

  11. สูตรในการคำนวณ เมื่อ

  12. สมมติฐาน สำหรับทุกชั้นคะแนน j ,

  13. MH DIF • Education Testing Service’s ได้เสนอให้แปลงค่า ให้เป็นคะแนนมาตรฐานในรูปเดลต้าที่มีค่าเฉลี่ยเป็น 0 เรียกค่าที่แปลงนี้ว่า MH DIF

  14. สมการ MH DIF

  15. เกณฑ์การพิจารณาค่าของ • ค่า ไม่แตกต่างจาก 0 แสดงว่าข้อสอบนั้น ไม่ลำเอียง • ค่า แตกต่างจาก 0 มีค่าเป็นบวก (Positive) แสดงว่าข้อสอบลำเอียงโดยเข้าข้างกลุ่มเปรียบเทียบ • ค่า แตกต่างจาก 0 มีค่าเป็น (Negative) แสดงว่าข้อสอบลำเอียงโดยเข้าข้างกลุ่มอ้างอิง

More Related