1 / 15

การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย

การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย. ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง. CEO Forum สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย 23 ธันวาคม 2552 โรงแรมดุสิตธานี.

jaden
Télécharger la présentation

การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย บลจ. เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง CEO Forum สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย 23 ธันวาคม 2552 โรงแรมดุสิตธานี

  2. การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจการค้าโลก • การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (Global Finance) • จาก ASEAN สู่ AEC • เศรษฐกิจไทย 2010/2011

  3. 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจการค้าโลก1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจการค้าโลก Source: IMF

  4. 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจการค้าโลก (ต่อ) Source: WTO

  5. 1. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจการค้าโลก (ต่อ) จาก Northern Atlantic Centric Asia/Pacific Centric

  6. 2. การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (Global Finance) • Saving / Investment---เอเชียมีเงินออมส่วนเกินมากกว่าความต้องการลงทุนติดต่อกันหลายปี Source: WEO Database, IMF

  7. 2. การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (ต่อ) 4,351 2,186 • การเกินดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องของเอเชียทำให้มีเงินสำรองสะสมเพิ่มขึ้น Source : IMF

  8. 2. การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (ต่อ) 1,842.9 (53.4%) 1,606.9 (52.2%) 1,254.6 (53.3%) 1,248.1 (59.3%) 1,206.5 (59.3%) 1,123.7 (60.8%) Source: US Treasury Department • เงินออมจากเอเชีย ไปลงทุนในตะวันตกโดยเฉพาะสหรัฐ

  9. 2. การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (ต่อ) • ตลาดเงิน/ตลาดทุนโลก ยังกระจุกตัวที่ตะวันตก

  10. 2. การเปลี่ยนแปลงการเงินโลก (ต่อ) • โดยสรุป ตลาดเงิน/ตลาดทุนโลก • เป็น Western Investment dependent on Eastern Savings • ยังเป็น West – dominated • ยังเป็น US$ - dependence • จะสมดุลมากขึ้น โดยที่ • ตลาดทุน East (เอเชีย) จะขยายตัวสูง • ความสำคัญของ US$ ลด ค่า US$ ลด

  11. 3. จาก ASEAN สู่ AEC ASEAN Community 2015 1977 1996 1997 1998 2003 2007 2008 2009 1993 ASEAN 1967 PTA AFTA กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) มีผลบังคับใช้ AFAS ASEAN Vision 2020 เขตการลงทุนอาเซียน AIA ปฏิญญาบาหลี ฟื้นฟูวิสัยทัศน์ ASEAN 2020 • AEC 2015 --- เดินหน้าเต็มที่ • AFTA ATIGA เพิ่มเติมจาก AFTA • (AFTA เสรีเต็มที่ในปี 2010) • AFAS --- เปิดเสรีต่อเนื่อง 7 สาขาบริการหลัก • ACIA --- ความตกลงด้านการลงทุน ครอบคลุมกว่า AIA ปฏิญญาเซบู ASEAN Charter สู่ ASEAN Community ในปี 2015 3 เสาหลัก 1. เศรษฐกิจ --- AEC : AFTA, AIA, AFAS 2. ความมั่นคง 3. สังคมและวัฒนธรรม

  12. 3. จาก ASEAN สู่ AEC (ต่อ) • AEC มาในจังหวะเวลาที่ดีมาก • แต่ AEC เพียงอย่างเดียวไม่พอ ต้องขยายเป็น + 3 (จีน, เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น) และ + 6 (เพิ่ม ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และ อินเดีย)

  13. 3. จาก ASEAN สู่ AEC (ต่อ) 15,816 ASEAN +6 15,816 ASEAN +3 12,386 ASEAN 1,506 18,394 16,864 ขนาดเศรษฐกิจ (GDP) ของ ASEAN+3, +6 เทียบกับ NAFTA และ EU ในปี 2008 ($พันล้าน) EU15  EU27 ASEAN 10ประเทศ NAFTA  FTAA? +3 +6

  14. จะอยู่ภายใต้ โครงสร้างเศรษฐกิจโลก/การเงินโลกปรับเปลี่ยน เอเชียมีบทบาทนำ การรวมกลุ่มในเอเชีย โดยเฉพาะ ASEAN +3, +6 จะเป็นประโยชน์กับไทยมากขึ้น โดยมี AEC เป็นกลไกผลักดันสำคัญ ทว่า ปัจจัยภายในประเทศโดยเฉพาะการเมือง จะยังไม่นิ่งอีกระยะหนึ่ง ดังนั้นธุรกิจต้องปรับตัวเองมากขึ้น เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวอย่าง moderate โดยการค้า/การส่งออกยังสำคัญ แต่ต้องปรับพึ่งตลาดเอเชียมากขึ้น 4. เศรษฐกิจไทย 2010/2011

  15. 4. เศรษฐกิจไทย 2010/2011 (ต่อ) ที่มา : ธปท.

More Related