1 / 21

ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT

ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT. เป็นการสร้างออร์บิทัลของโมเลกุล (MO’s) จาก valence AO’s ของทั้ง 2 อะตอมในโมเลกุล. เป็นการ overlap กัน (การรวมกันเชิงเส้นของฟังก์ชันคลื่น) ของ valence AO’s ที่มีทิศทางที่เหมาะสมหรือพลังงานใกล้ เคียงกัน.

jafari
Télécharger la présentation

ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT เป็นการสร้างออร์บิทัลของโมเลกุล (MO’s)จากvalence AO’sของทั้ง 2 อะตอมในโมเลกุล เป็นการ overlap กัน (การรวมกันเชิงเส้นของฟังก์ชันคลื่น) ของ valence AO’s ที่มีทิศทางที่เหมาะสมหรือพลังงานใกล้ เคียงกัน การรวมกันเชิงเส้นของฟังก์ชันคลื่นของ AO’s มี 2 แบบ : - รวมแบบผลบวก ==> Bonding MO. - รวมแบบผลต่าง ==> Antibonding MO. จำนวน MO’s ที่ได้ = จำนวน AO’s ที่ได้เสมอ

  2. 1. MOTสำหรับโมเลกุลอะตอมคู่นิวเคลียสเหมือน (Homonuclear diatomic molecules) พลังงานของโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนในบอนดิงและแอนติบอนดิงออร์บิทัล เทียบกับระยะห่างระหว่างอะตอมทั้ง 2

  3. กรณีที่อะตอมทั้งสองมีเฉพาะ 1s valence AO’s พลังงานสัมพัทธ์ของ 2 MO’s ของโมเลกุล H2 และของ AO’s 1s ทั้งสอง

  4. พลังงานสัมพัทธ์ของ MO’s ของ H2+ แผนผังพลังงานนี้ ใช้สำหรับ H2, He2+และ He2ด้วย

  5. การเกิด MO’s ของ H2 (เนื่องจาก s-ออร์บิทัล เป็น centrosymmetric และ s*-ออร์บิทัลเป็น non-centrosymmetric จึงแทนด้วยสัญลักษณ์ sgและ su*ตามลำดับ

  6. แผนผังอันตรกิริยาของออร์บิทัลสำหรับการเกิด (a) He2จาก 2 อะตอมของ He (b) Li2จาก 2 อะตอมของ Li

  7. Anti - bonding electrons Net bonding electrons Experimental bond energy, kcal mol-1 Bonding electrons Bond length, A o Molecule He2 H2+ He2+ H2 2 1 2 2 2 0 1 0 0 1 1 2 __a 1.06 1.08 0.74 __a 61 60 103 Comparison of some molecule-orbital structure, net bonding electrons, bond length and bond energies

  8. - กรณีที่อะตอมทั้งสองมีทั้ง 2s และ 2p valence AO’s

  9. พลังงานสัมพัทธ์ของ 2s และ 2p AO’s ทั้งสองชุด ของธาตุแถวที่ 2 ในตารางธาตุ

  10. MO’s ทั้ง 6 ที่ต่างกัน ซึ่งเกิดจากออร์บิทัล s, px, pyและ pz ของอะตอมทั้ง 2 ในโมเลกุลอะตอมคู่ บวกและลบแทนเครื่องหมายของฟังก์ชันคลื่น py เกิด MO’s ในทำนองเดียวกันกับ px บอนดิง MO’s ด้านซ้าย ส่วนแอนติบอนดิง MO’s อยู่ด้านขวา เส้นประแทน model planes ซึ่งมี electron density เป็นศูนย์

  11. พลังงานสัมพัทธ์ของ MO’s สำหรับโมเลกุลอะตอมคู่นิวเคลียสเหมือนที่อะตอมทั้ง 2 มีทั้ง 2s และ 2p valence AO’s

  12. พลังงานสัมพัทธ์ของ MO’s สำหรับโมเลกุลอะตอมคู่นิวเคลียสเหมือนที่พลังงานของ 2s และ 2p ของอะตอมต่างกันมากพอที่จะทำให้ไม่มีการผสมกันระหว่างออร์บิทัลเกิดขึ้น (กรณีโมเลกุล O2และ F2ซึ่งอะตอมมีค่า EN สูง ๆ)

  13. ตามคาบจาก Li ถึง F, พลังงานของออร์บิทัล 2s และ 2p ลดลงเมื่อค่า effective nuclear charge มากขึ้น

  14. การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของ MO’s และการจัดเรียงของอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของโมเลกุลอะตอมคู่นิวเคลียสเหมือนของธาตุ p-block แถวแรก

  15. bond dissociation enthalpy, kJ mol-1 Magnetic data Diatomic Bond distance, pm Bond Order Li2 Be2 B2 C2 N2 O2 F2 267 - 159 124 110 121 141 1 0 1 2 3 2 1 Diamagnetic - Paramagnetic Diamagnetic Diamagnetic Paramagnetic Diamagnetic 110 - 297 607 945 498 159 Experimental data and bond orders for homonuclear diatomic molecules X2 in which X is an atom in the period Li to F

  16. 2. MOT สำหรับโมเลกุลอะตอมคู่นิวเคลียสต่าง (Heteronuclear diatomic molecules) - กรณีอะตอม A มีเฉพาะ 1s valence AO ส่วนอะตอม B มีทั้ง 2s และ 2p AO’s

  17. การ overlap ของ H 1s-ออร์บิทัล กับ valence 2s และ 2p ออร์บิทัลของ F net overlap ของ 2pxหรือ 2pyของ F กับ 1s ของ H มีค่าเป็นศูนย์ดังนั้นออร์บิทัลทั้ง 2 ไม่ได้ถูกใช้ในการสร้าง MO’s

  18. พลังงานสัมพัทธ์ของ AO’s และ MO’s ใน HF พลังงานของอิเล็กตรอนใน H 1s = -110,000 cm-1 (IE1 ของ H = +110,000 cm-1) พลังงานใน 2p ของ F = -151,000 cm-1(IE1 ของ F = +151,000 cm-1) ตามจริงแล้ว 2s-ออร์บิทัล มีพลังงานต่ำกว่านี้มาก การ overlap ระหว่าง AO’s อาจเป็นการ overlap ต้องห้ามทางสมมาตร การรวมกันตาม (a) และ (b) ทำให้ได้ non-bonding ส่วน (c) เป็น symmetry-allowed ทำให้ได้ bonding interaction

  19. - กรณีที่อะตอมทั้งสองในโมเลกุลมีทั้ง 2s และ 2p valence AO’s พลังงานสัมพัทธ์ของออร์บิทัลในโมเลกุล AB เมื่อ B มีสภาพลบ (มีค่า EN มากกว่า) มากกว่าอะตอม A ตัวอย่างเช่น CO

  20. ตัวแทน MO’s สำหรับโมเลกุล AB เมื่ออะตอม B มีสภาพลบมากกว่า A

  21. Bond properties of some heteronuclear diatomic molecules and ions o Bond length, A bond dissociation energy, kcal mol-1 Molecule BeF BeH BeO CN CN+ CN- CO CO+ 1.3614 1.297 1.3308 1.1719 1.1727 1.14 1.1283 1.1152 135.9 2.3 53 106.1 2.3 188 --- --- 255.8 192.4 + + - -

More Related