1 / 25

อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์

คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง. ตัวสถิติช่วยสอน. ตัวสถิติทดสอบ. แนะนำการใช้โปรแกรม. จบการทำงาน. แบบฝึกหัด. เพลงบรรเลง. 1. 2. 3. 4. 5. 6. อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎเชียงใหม่.

jaimin
Télécharger la présentation

อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง ตัวสถิติช่วยสอน ตัวสถิติทดสอบ แนะนำการใช้โปรแกรม จบการทำงาน แบบฝึกหัด เพลงบรรเลง 1 2 3 4 5 6 อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎเชียงใหม่

  2. ข้อมูลที่จะนำมาวิเคราะห์ทางสถิติเป็นข้อมูลมาตรวัดใด?ข้อมูลที่จะนำมาวิเคราะห์ทางสถิติเป็นข้อมูลมาตรวัดใด? What scale of measurement has been used? มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale) มาตราอันตรภาค (Interval Scale) มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) ขั้นตอนที่ 1

  3. ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด?ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested? สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Nominal ขั้นตอนที่ 2

  4. ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด?ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested? สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Ordinal ขั้นตอนที่ 2

  5. ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด?ต้องการวิเคราะห์ทางสถิติในรูปแบบใด? Which hypothesis has been tested? สนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Difference) สนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการของเรื่องที่สนใจ (Hypothesis of Association) Interval And Ratio ขั้นตอนที่ 2

  6. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Nominal Difference ขั้นตอนที่ 3

  7. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Ordinal Difference ขั้นตอนที่ 3

  8. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างเป็นอิสระกันหรือสัมพันธ์กัน? Are the samples independent or correlated? ข้อมูลเป็นอิสระกัน (Independent Selection) ข้อมูลมีความสัมพันธ์กัน (Correlated Selection) Interval And Ratio Difference ขั้นตอนที่ 3

  9. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 1 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูล 2 กลุ่ม หรือมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (Two or More Measures) Nominal Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

  10. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (More Than Two Measures) Ordinal Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

  11. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูลตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป (More than two Measures) มีข้อมูล 1 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูล 2 กลุ่ม (Two Measure) Interval And Ratio Difference Independent ขั้นตอนที่ 4

  12. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Nominal Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

  13. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Ordinal Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

  14. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Interval And Ratio Difference Correlated ขั้นตอนที่ 4

  15. ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม?ข้อมูลที่สุ่มมาเป็นตัวอย่างมีจำนวนกี่กลุ่ม? How many sets of measures are involved? มีข้อมูล 2 กลุ่ม (One Measure) มีข้อมูลมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป ( More than two Measures) Interval And Ratio Association ขั้นตอนที่ 3

  16. ตัวสถิติทดสอบ • กลุ่มข้อมูล Nominal Data • (สถิตินอนพาราเมตริก) • Binomail Test • Chi Square One-Sample Test • Chi Square Test for Two • or k Independent Sample • Fisher Exact Test • McNemar Test • Cochran Test • Coefficient of Contingency • กลุ่มข้อมูล Interval or Ratio Data • (สถิติพาราเมตริก) • t Test (or Z Test) • Independent t Test • One-Way ANOVA or F Ratio • and Factorial ANOVA • Paired t Ratio • Pearson r • Simple Regression • Multiple r • Multiple Regression • กลุ่มข้อมูล Ordinal Data • (สถิตินอนพาราเมตริก) • Mann-Whitney Test • K-S Two Sample Test • Wald-Wolfotwitz Runs Test • Median Test (กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม) • Kruskal-Wallis Runs Test • Median Test (กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม) • Wilcoxon Mathched Pair Signed-Ranks Test • Sign Test • FriedMan Test • Spearman Rank Correlation Coeffcient

  17. แผนผังการเลือกสถิติทดสอบแผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

  18. แผนผังการเลือกสถิติทดสอบแผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

  19. แผนผังการเลือกสถิติทดสอบแผนผังการเลือกสถิติทดสอบ

  20. แนะนำการใช้โปรแกรม ขั้นตอนการเลือกใช้ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง 1.ท่านต้องทราบลักษณะของข้อมูลก่อนว่าข้อมูลที่ท่านมีอยู่เป็นสเกลการวัดของข้อมูลแบบใด 1. Nominal Scale เช่น เพศ สีของตา 2. Ordinal Scale เช่น การตัดเกรด A , B , C , D 3. Interval Scale เช่น อุณหภูมิ 4. Ratio Scale เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง 2.ท่านต้องทราบเป้าหมายการทดสอบของท่านว่าเป็นแบบใด 1. Hypothesis of Difference เป็นการทดสอบความแตกต่างของกลุ่มข้อมูล 2. Hypothesis of Association เป็นการทดสอบความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล 3.ท่านต้องทราบข้อมูลที่ท่านสุ่มมานั้นเป็นอิสระต่อกันหรือไม่ 1. Independent Selection ข้อมูลที่เลือกหรือสุ่มมานั้นเป็นอิสระต่อกัน 2. Correlated Selection ข้อมูลที่เลือกหรือสุ่มมานั้นไม่เป็นอิสระต่อกัน 4.ท่านต้องทราบมีจำนวนกลุ่มที่จะนำมาทดสอบทางสถิติมีกี่กลุ่ม

  21. แนะนำการใช้โปรแกรม มาตรวัดของข้อมูล 1. Nominal Scale เป็นมาตรการวัดขั้นพื้นฐาน โดยแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ ที่ เพียงแต่จัดประเภท โดยยังไม่มีการจัดลำดับจึงเป็นการกำหนดชื่อให้กับวัตถุสิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่างๆซึ่งมีความแตกต่างกันในด้านคุณภาพ แต่ยังไม่มีความหมาย เกี่ยวกับลำดับทางด้านปริมาณ หลักการที่ใช้คือจัดสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในพวกเดียวกัน หรือมีลักษณะเหมือนกันให้มีคุณภาพเทียบเท่ากันโดยมีสัญลักษณ์ที่ไม่ซ้ำกัน เช่นให้ตัวเลข 1 แทนเพศชาย 2 แทนเพศหญิง ซึ่งสถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ส่วนมากก็จะเป็นร้อยละ ความถี่ 2. Ordinal Scale เป็นมาตรการวัดที่ใช้กับข้อมูลที่สามารถจัดเรียงอันดับของข้อมูลให้ลดหลั่นกันเป็นขั้นๆ ตามปริมาณ และคุณภาพมากน้อยแต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่าแต่ละขั้นห่างกันเท่าไร และทุกๆ ขั้นเท่ากันหรือไม่ เพราะฉะนั้นเป็นการวัดที่แสดงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ โดยคำนึงถึงการจัดประเภทและจัดลำดับหรือตำแหน่งโดยบอกทิศทางของความแตกต่างว่ามากกว่าหรือน้อยกว่า เช่น การตัดเกรด A , B , C , D , F สถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ก็ยัง เป็นร้อยละ ความถี่ หรืออาจจะเป็นสถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์

  22. แนะนำการใช้โปรแกรม 3. Interval Scale เป็นมาตรการวัดที่มีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราเรียงลำดับ แต่มาตรการจัดแบบนี้ สามารถบอกความแตกต่างของข้อมูลหรือระยะห่างของข้อมูลได้เป็นช่วงๆ เช่น มาตราการวัดอุณหภูมิเป็น 100 องศาเซนเซียส ซึ่งก็คือ 100 ช่วงที่เท่าๆ กัน แต่ตัวเลข 0 ในมาตราการวัดแบบนี้ไม่เป็นศูนย์จริง แต่เป็นศูนย์สัมพันธ์ ค่าที่ได้จากการวัดในมาตรานี้จึงนำมาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ แต่ไม่สามารถเทียบเป็นสัดส่วน หรือจำนวนเท่าต่อกันได้ เช่น การสอบได้คะแนน 0 ไม่ได้หมายความว่า ไม่มีความรู้เลย สถิติที่นำมาใช้กับข้อมูลประเภทนี้ นอกจากเป็นสถิติพรรณาแล้ว ยังสามารถใช้สถิติเชิงอนุมาน มาวิเคราะห์ข้อมูลได้ 4. Ratio Scale เป็นมาตรการวัดทีสมบูรณ์ที่สุด โดยมีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราอันตรภาคแต่ตัวเลขศูนย์ในมาตรการวัดแบบนี้เป็นศูนย์ที่แท้เจริง โดยถ้าวัดเป็นจำนวนเท่าของข้อมูลก็จะเป็นจริง เช่น น้ำหนัก 0 กิโลกรัม แสดงว่าไม่มีน้ำหนักเลย สถิติที่จะนำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูลที่มีมาตรการวัดแบบนี้สามารถใช้ได้ทั้งสถิติที่ใช้พารามิเตอร์ และสถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์

  23. แนะนำการใช้โปรแกรม การทดสอบ 1. Hypothesis of Difference เป็นการสนใจศึกษาถึงความแตกต่างของคุณลักษณะบางประการในประชากร เช่น ในกรณีที่ข้อมูลเป็นแบบ Ratio Scale และอยากทราบว่า ผลต่างระหว่างรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนในเขตเมืองและในเขตชนบทแตกต่างกันหรือไม่ 2. Hypothesis of Association เป็นการสนใจศึกษาถึงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะบางประการในประชากร เช่น ในกรณีที่ข้อมูลเป็นแบบ Ratio Scale และอยากทราบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักกับความสูงของประชากรหรือไม่ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร

  24. แนะนำการใช้โปรแกรม การทดสอบ 1. Independent Selection กลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมามีความเป็นอิสระกัน เช่น คะแนนสอบวิชาสถิติของนักศึกษาเพศชาย กับเพศหญิง 2. Correlated Selection กลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาไม่เป็นอิสระกันหรือมีความสัมพันธ์กัน เช่น คะแนนสอบวิชาสถิติของนักศึกษา ก่อนการอบรมในตอนเช้า และหลังการอบรมในตอนบ่าย

  25. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง หน้า Menu ออกจากโปรแกรม อาจารย์ ปรารถนา ดาราพงษ์ โปรแกรมวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฎเชียงใหม่

More Related