1 / 39

เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ

เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ. จันทร์เพ็ญ ปะวะโพตะโก พยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ. เชื้อดื้อยา. ประเทศไทยปักหมุด หยุดเชื้อดื้อยา ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาปีละ 7 แสนคนหรือนาทีละ 1 คน ประเทศไทยเสียชีวิตปีละ 3 หมื่นคนสูญเสียค่าใช้จ่ายปีละ 4.2 หมื่นล้านบาท

jbynum
Télécharger la présentation

เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ จันทร์เพ็ญ ปะวะโพตะโก พยาบาลป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

  2. เชื้อดื้อยา • ประเทศไทยปักหมุด หยุดเชื้อดื้อยา • ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาปีละ 7 แสนคนหรือนาทีละ 1 คน • ประเทศไทยเสียชีวิตปีละ 3 หมื่นคนสูญเสียค่าใช้จ่ายปีละ 4.2 หมื่นล้านบาท • วินิจฉัยได้จากการเพาะเชื้อ 

  3. ปัญหาโรคติดเชื้อดื้อยาปัญหาโรคติดเชื้อดื้อยา เชื้อโรคดื้อยาโดยเฉพาะเชื้อตัวเดียวแต่สามารถดื้อยาได้หลายขนาน มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ยาต้านจุลชีพชนิดใหม่มีจำนวนลดลง 2. คาดการณ์ในปี ค.ศ.2050 เชื้อโรคดื้อยาจะมีความรุนแรงทำ คนเสียชีวิต 3 วินาที/1 คน (NARST , 2556)

  4. สถานการณ์เชื้อโรคดื้อยาในประเทศไทยสถานการณ์เชื้อโรคดื้อยาในประเทศไทย 1.พบปีละกว่า 1 แสนราย 2.ผู้ป่วยต้องนอนโรงพยาบาลนานขึ้น 3 ล้านวัน 3.ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการติดเชื้อดื้อยาจำนวน 38,481 ราย 4.สูญเสียทางเศรษฐกิจมีมูลค่า 4 หมื่นล้านบาท 5.ค่ายาต้านจุลชีพ 2,084 ล้านบาท (NARST , 2556)

  5. สถานการณ์เชื้อโรคดื้อยาในร.พวานรนิวาสสถานการณ์เชื้อโรคดื้อยาในร.พวานรนิวาส • ปี.2561 พบ 139 Visit ( 125 ราย) ดังนี้ • กลุ่ม ESBL 81 Visit คิดเป็นร้อยละ 58.3 • กลุ่ม MDR 32 Visit คิดเป็นร้อยละ 23.0 • กลุ่ม MRCONs 18 Visit คิดเป็นร้อยละ 12.9 • กลุ่ม CRE 6 Visit คิดเป็นร้อยละ 4.3 • กลุ่ม MRSA 1 Visit คิดเป็นร้อยละ 0. 7

  6. ความหมายโรคเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพความหมายโรคเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ คือ เชื้อโรคที่ดื้อยาต้านจุลชีพที่เคยรักษาได้ผลเมื่อเชื้อโรคเปลี่ยนแปลงโครงสร้างยีนส์ทำให้ยาต้านจุลชีพรักษาไม่ได้ผล ซึ่งเชื้อโรคสามารถดื้อยาได้ทุกกลุ่มทั้งแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อปรสิต และเชื้อรา

  7. กลไกการออกฤทธิ์ของยาต้านจุลชีพกลไกการออกฤทธิ์ของยาต้านจุลชีพ • การออกฤทธิ์ของยาต้านแบคทีเรีย แบ่งเป็นกลไกหลัก 4 กลไก คือ1. ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม beta-lactamเช่น penicillinsและ cephalosporinsเป็นต้น2. ยับยั้งการสร้างโปรตีนของแบคทีเรีย (โปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างหรือเป็นเอ็นซัยม์ที่มีบทบาทในการมีชีวิตของแบคทีเรีย) ได้แก่ ยาในกลุ่ม tetracyclines, chloramphenicalsและ macrolidesเป็นต้น3. ยับยั้งการทำงานของเอ็นซัยม์ของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม quinolones4. ยับยั้งขบวนการเมตะบอลิก ซึ่งเกี่ยวกับการสร้างสารอาหารและพลังงานของแบคทีเรีย ได้แก่ ยาในกลุ่ม sulfamethoxazoleและ trimethoprim ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2550.

  8. เชื้อจุลชีพ 5 ชนิด ที่พบบ่อยในโรงพยาบาลและมักดื้อยาต้านจุลชีพหลายขนาน 1. Escherichia coli 3. Acinetobacter baumannii 2. Klebsiella pneumoniae 4. Pseudomonas aeruginosa 5. Methicillin-resistant staphylococcus aureus

  9. Vancomycin resistant enterococci (VRE) เช่น เชื้อ Enterococcus faecium ที่ดื้อต่อยา Vancomycin เชื้อดื้อยาที่เป็นปัญหาของประเทศไทยซึ่งควรได้รับการควบคุมเป็นกรณีพิเศษ มีดังนี้ Carbapenem-resistant Enterobacteriaceae (CRE) เช่น Escherichia coli ,Klebsiella pneumoniae ที่ดื้อต่อยา Meropenam , imipenem Acinetobacter baumannii ที่ดื้อต่อยา Colistin Pseudomonas aeruginosa ที่ดื้อต่อยา Colistin Stenotrophomonas maltophilia ที่ดื้อต่อยา co-trimoxazole และLevofloxacin

  10. กลุ่มเชื้อดื้อยา • กลุ่มควบคุมพิเศษ ( มันดื้อยาหลายขนานดื้อยาที่มีราคาแพง) • Methicillin-Resistant S.aureus(MRSA) • Extended-Spectrum Beta-Lactamase(ESBL)ProducuingEnterobacteriaceaeเช่น E.coli Klebsiella spp.ช่นE.coli Klebsiella spp. • Carbapenem- Resistant Enterobacteriaceae( CRE) • Carbapenem- Resistant Pseudomonas aeruginosa • Carbapenem- Resistant Acinetobacterbaumannii. • Vancomycin-Resistant Enterococci (VRE) • MDR-TB Multidrug-resistant tuberculosis • XDR-TB Extensively drug-resistant tuberculosis

  11. กลุ่มเชื้อดื้อยา • เชื้อดื้อยากลุ่มอื่น ๆ • Drug-Resistant streptococcus pneumonia (DRSP) • Macrolide-Resistant streptococcus pyogenes • Fluoroquinolone-Resistant Neisseriagonorrhoeae • Fluoroquinolone-Resistant Enteric Bacteria เช่น Shigella spp. • Colistin Resistant Acinetobacterbaumannii. • Cotrimoxazole - Resistant Stenotrophomonasmaltophilia. • MRCOrN(Methicillin-Resistant -coagulase-negative Staphylococci; )

  12. Suber bug 2.NDM-1( New Delhi metallo-beta-lactamase -1 )พบในเชื้อ E.coli และ Klebsiella เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบที่กลายพันธุ์เป็นเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ ทุกชนิด โดยแบคทีเรียจะสร้างน้ำย่อย ชื่อว่า “bla NDM-1 gene” ทำลายยาปฏิชีวนะจึงทำให้ยาปฏิชีวนะเหล่านั้นหมดประสิทธิภาพ แพทย์และนัก วิทยาศาสตร์คาดว่าแบคทีเรียทุกชนิดสามารถกลายพันธุ์เป็นซูเปอร์บั๊กได้ทั้งนั้น • เชื้อ อี โคไลมักทำให้เกิดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะและระบบทางเดินอาหารร • ส่วนเชื้อ เครบซีลลามักทำให้เกิดการติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ • ระบบทางเดินหายใจะบบทางเดินอาหาร

  13. กลุ่มเชื้อดื้อยาSuper-bug มี • 1.MCR-1 (Mobilized Colistin Resistance )มี E.coli ที่ดื้อยาATBทุกตัวโดยเฉพาะ Colistin เดิมเคยเชื่อว่า colistin เชื้อตัวนี้จะมียีนส์ดื้อยาบน plasmidgene(เป็นยีนส์ที่มีขนาดเล็กมาก) มันสามารถส่งสารพันธุกรรมที่ดื้อยาข้ามเชื้อแบคทีเรียที่ต่าง species ได้ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาที่พบ MCR-1 จะหายามารักษาไม่ได้แล้ว  (การแพร่มันน่ากลัวคือมันสามารถถ่ายทอดยีนส์ดื้อยา ให้กลุ่มอื่นได้ ถ้าระบาดมันจะก่อโรครุนแรงกับมนุษย์และไม่มียาตัวไหนรักษาได้)

  14. Super-bug • MCR-1(The mobilized colistin resistance (mcr-1) gene confers plasmid-mediated resistance to colistin, one of a number of last-resort antibiotics for treating gram negative infections.)เป็นเชื้อกลุ่ม • E.coli.ที่ดื้อต่อยา Colistin( ดื้อระดับยีนส์พบครั้งแรกที่ USA และหลายประเทศไทยยังไม่พบ ( เป็นเชื้อที่อยู่ในร่างกายเรามันจึงน่ากลัวมากคาดว่าเอาไม่อยู่ ถ้าไม่มีการควบคุมกำกับที่ยอดเยี่ยมเข็มแข็ง)

  15. ตัวอย่างการกลายพันธ์ของAMRตัวอย่างการกลายพันธ์ของAMR • Acinetobacterbaumanuii MDRหมายถึง.A.baumanuii.ที่ดื้อต่อ AmikinCiprofox.. Ceftazidineแต่ยังไว ImipenemColistinTigecycline • A. baumanuii XDR หมายถึง.เชื้อA.bau.ที่ดื้อต่อ AmikinCiprofoxCeftazidineImipenemCotrimox-แต่ยังไว ColistinTigecycline • A. baumanuii PDR หมายถึง. เชื้อA.bau..ที่ดื้อต่อยาทุกขนาน

  16. เชื้อดื้อยา • ESBL ย่อมาจาก extended spectrum beta-lactamases หมายถึง Enzyme ที่ผลิตจากเชื้อที่สามารถทำลาย extended spectrum cephalosporinsได้ ซึ่งเป็นเชื้อหน้าเดิม ๆ ที่กลายพันธุ์ไป แรก ๆ พบใน Klebsiellasppกับ E. Coli แล้วตอนหลังก็มีการถ่ายทอดวิชาความรู้ไปให้เชื้ออื่น ๆ ด้วย (ทางพลาสมิด) เช่น Enterobacteriacaeทำให้ดื้อยาตาม ยาที่อยู่ในข่ายโดนเอนไซม์ ESBL เล่นงานได้แก่ cefotaxime, ceftriaxone, ceftazidime, aztreonam, cefpodoximeและเอนไซม์นี้ไม่มีผลต่อ cephamycinsและเอนไซม์นี้สามารถถูกยับยั้งได้โดย clavulanic acid ได้

  17. ความคงทนของเชื้อจุลชีพดื้อยาในโรงพยาบาลที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แห้งและไม่มีชีวิตความคงทนของเชื้อจุลชีพดื้อยาในโรงพยาบาลที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แห้งและไม่มีชีวิต Acinetobacter spp. 3 วัน ถึง 5 เดือน Vancomycin Resistant Enterococcus (VRE) 5 วัน ถึง 4 เดือน Methicillin-Resistant Staphylococcus Aureus (MRSA) 7 วัน ถึง 7 เดือน Clostridium difficile 5 เดือน (Karmer et al. 2006)

  18. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาลปัจจัยที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล • ระยะเวลารักษาในโรงพยาบาล • การให้ยาต้านจุลชีพไม่เหมาะสมแต่ละร.พ ควรจัดทำAntibiogramตามบริบทของร.พ • ความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัวของผู้ป่วย การได้รับการสอดใส่อุปกรณ์ / การผ่าตัด •การแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในร.พจากการที่จนท. ไม่ล้างมือ ไม่แยกผู้ป่วย การใช้อุปกรณ์ต่างๆรวมกัน การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมไม่ดี............................................... (WHO , 2016)

  19. วิธีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาจากผู้ป่วยสู่ผู้ป่วยหรือสู่บุคลากรหรือสู่สิ่งแวดล้อมใน ร.พ การสัมผัส (Contract Transmission) ทั้งการสัมผัสทางตรง (Direct contact) และการสัมผัสทางอ้อม (Indirect contact)

  20. ศูนย์ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อประเทศสหรัฐอเมริกา มีแนวปฏิบัติสำหรับการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อดื้อยามาใช้ในหอผู้ป่วยวิกฤต ทำให้อัตราการติดเชื้อดื้อยา ลดลงร้อยละ 65 (Gupta et al.,2016)

  21. แนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยแนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย 1.กรณีที่มีห้องแยก 2.กรณีไม่มีห้องแยก • จัดผู้ป่วยที่มีเชื้อดื้อยาชนิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน •หากผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาที่จำเป็นต้องควบคุมเป็นกรณีพิเศษให้จัดเป็นบริเวณที่มีฉากกั้นชัดเจน • จัดผู้ป่วยเข้าห้องแยก

  22. การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย • การจัด Unit ผู้ป่วย / อยู่ในห้องแยก / จักโซนนิ่งเฉพาะ / แยกอุปกรณ์เครื่องใช้ / จัดให้มีแอลกอฮอล์ล้างมือไว้ที่เตียงผู้ป่วย

  23. การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย 2. บุคลากร 2.1 ใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม (Basic มีเสื้อกาวน์พลาสติก , ถุงมือ , หน้ากากอนามัย) 2.2 ถอดอุปกรณ์ป้องกันในห้องผู้ป่วย / เตียงผู้ป่วย หลังถอดถุงมือล้างมือทุกครั้ง 2.3 กรณีทำหัตถการต้องเตรียมอุปกรณ์ให้ครบชุดพร้อมใช้และควรมีผู้ช่วยอยู่นอกห้อง เพื่อส่งอุปกรณ์ที่ต้องการใช้เพิ่ม

  24. การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย 2.4 ไม่นำ chart ผู้ป่วยไปที่เตียงผู้ป่วย ให้เก็บไว้ที่เคาน์เตอร์พยาบาล 2.5 การเก็บ specimen พยาบาลใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไปเก็บ specimen ใส่ภาชนะบรรจุตามประเภท specimen ให้มีเจ้าหน้าที่อีกคนถือถุงใสรองรับอีกครั้ง เพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชื้อใน ward ไปจนถึงห้อง Lab 3. ปฏิบัติตามหลัก Standard precautions ขณะให้การดูแลผู้ป่วยทุกรายในหอผู้ป่วยโดยถือว่าผู้ป่วยทุกรายอาจมีเชื้ออยู่ตามร่างกาย

  25. การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย 4. ใช้หลัก Contact precautions เมื่อดูแลผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาทุกราย 5. ล้างมือตามหลัก 5 Moments 7 ขั้นตอน - การสัมผัสผู้ป่วย - ก่อนทำหัตถการสะอาดปราศจากเชื้อ - หลังสัมผัสเลือด / สารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย - หลังสัมผัสผู้ป่วย - หลังสัมผัสสิ่งรอบตัวผู้ป่วย

  26. การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วยการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาในหอผู้ป่วย 6. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม กรณีที่คาดว่าอาจสัมผัสเลือด หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย 7. จำกัดบุคลากรและญาติ / แจ้งผู้ป่วยและญาติให้รับทราบ เพื่อขอความร่วมมือ

  27. การสิ้นสุดการแยกผู้ป่วยการสิ้นสุดการแยกผู้ป่วย • ส่ง specimen ซ้ำใน Day 7 ถ้าผลบวกให้ยาต้านจุลชีพต่อ ส่ง specimen ซ้ำทุกๆ 4 วัน จนกว่าผลเป็นลบ แล้วให้ส่งคู่กับ stool culture ทุก 4 วัน ผลต้องเป็นลบติดต่อกัน 3 ครั้ง จึงยกเลิกการแยกผู้ป่วย

  28. การปฏิบัติการจัดการศพการปฏิบัติการจัดการศพ • ไม่ต้องห่อศพด้วยพลาสติก พนักงานจัดการศพให้ใส่อุปกรณ์ป้องกันปฏิบัติเหมือนผู้ป่วยทั่วไป

  29. สรุปร้อยละ การเกิดอุบัติเหตุของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตา-ปาก และอื่นๆ ปี 56 - 61 • ปี 56 = 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.1( N=330) • ปี57= 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.5( N=344) • ปี58= 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.2( N=356) • ปี59= 7 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.8( N=387) • ปี60= 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.7( N=475) • ปี61= 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.1( N=481)

  30. การป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็นการป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็น 1. ใส่อุปกรณ์ป้องกันครบชุดในการทำหัตถการใน ห้องคลอด ห้องผ่าตัด และหัตถการที่เสี่ยงต่อการ Bedding คือ 1. หมวกคลุมผม 2. Face shield 3. หน้ากากอนามัย 4. เสื้อกาวน์กันน้ำ5. ถุงมือ 6. รองเท้าบูธ

  31. การป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็นการป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็น 2. - การเจาะ DTX , HCT ให้ใช้ Auto lancet การฉีดยา การเจาะเลือด ไม่ต้องสวมปลอกเข็ม หรือสวมปลอกเข็มโดยใช้ One hand technique ไม่ Fix ปลอกเข็มเพราะเป็นสาเหตุแรกที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุของมีคมทิ่มตำ

  32. การป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็นการป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็น - งานทัตกรรมฉีดยาชาด้วยความระมัดระวัง การเย็บแผลใช้ความระมัดระวังไม่ให้เข็มทิ่มตำ เมื่อเสร็จสิ้นหัตการให้แยกเข็ม ของมีคม ใบมีด ทิ้งในกล่องรองรับของมีคมติดเชื้อ

  33. การป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็นการป้องกันของมีคมทิ่มตำและสารคัดหลั่งกระเด็น - การฉีดวัคซีนเด็ก ควรทำด้วยความระมัดระวังเรื่องเด็กดิ้น ควรมี 2 คนช่วยกัน หรือเน้นย้ำให้ผู้ปกครองกอดเด็กให้แน่น - ก่อนทำหัตการควรแจ้งผู้ป่วยให้ทราบก่อนทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัยของบุคลากรในกรณีที่ผู้ป่วยตกใจ ดิ้น อาจทำให้ของมีคมทิ่มตำบุคลากร

  34. จบการนำเสนอค่ะ

  35. เชื้อ Enterobacteriaceaeอื่นๆ นอกจาก Klebsiellaeและ E.coli ตรวจพบ ESBL นอยมาก และ ตรวจไดยากมาก  โดยเฉพาะเชื้อ Enterobacterspp.,Citrobacterfreundii, Morganellamorganii, Providencia spp. และ Serratia spp., มักจะมี inducible Amp C chromosomal enzyme ซึ่งจะถกชู ักนํา (induce) ใหสรางเอ็นซยมั นดี้ วยกรด clavulanic ออกมาจับกับสารตานจุลชพที ี่ใช

  36. ปี.63 • ทดสอบหา ESBL ทําให ไมสามารถเห็นผลการเสริมฤทธิ์ (synergy) จากการยับยงั้ESBL ดวยฤทธิ์ของกรด clavulanic และการ ดื้อยา ceftazidimeและ cefpodoximeมักจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการสรางเอ็นซัยม chromosomal Amp C ในปริมาณมากๆ มากกวาการสร  างESBL การตรวจหา ESBL ในเชื้อ Pseudomonas aeruginosa (OXA-type ESBL) ยิ่งยุงยากเนื่องจาก นอกจากการสรางเอ  ็นซัยม inducible Amp C แลวยังมีกลไกการดื้อ ยาอื่นๆ เขารวมด  วยเชน impermeability และ efflux

  37. ปี.63 • Accurate= ถูกต้อง

  38. เชื้อดื้อยา • Acinetobacterbaumanii มีทั้งที่ไม่ดื้อยา ดื้อยามาก แต่ยังมียารักษา (ใช้ Cloistin) และดื้อยามากๆMRSA นี่ มียารักษาครับ (Vancomycin)MDR ที่ท่านว่า น่าจะหมายถึง PseudomonasMDR (Multidrugresistant) ก็พอมียารักษาครับ

More Related