1 / 43

Case study & Home visit Acute Pyelonephritis

Case study & Home visit Acute Pyelonephritis. นศพ.ธนาธิป ตันติธนเศรษฐ์ 53020 68 RAMD/B นศพ.ไอริณ จารุวัฒนพานิช 53 02 176 RAMD/B. Patient Profile. หญิงไทยอายุ 22 ปี อาชีพ พนักงานโรงปูน จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

jed
Télécharger la présentation

Case study & Home visit Acute Pyelonephritis

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Case study & Home visit Acute Pyelonephritis นศพ.ธนาธิป ตันติธนเศรษฐ์ 5302068 RAMD/B นศพ.ไอริณ จารุวัฒนพานิช 5302176 RAMD/B

  2. Patient Profile • หญิงไทยอายุ 22 ปี • อาชีพ พนักงานโรงปูน จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย • ภูมิลำเนา จ.โคราช ปัจจุบันอาศัยที่ หมู่บ้านหนองมะค่า ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี • สิทธิการรักษา ไม่มี (เงินสด) • วันที่มาแผนกฉุกเฉิน 25 สิงหาคม 2556 • แพทย์ผู้รักษา: พญ.กุลวนิช พิพัฒนวนิชกุล • แหล่งข้อมูล: • ตัวผู้ป่วยเอง - เชื่อถือได้มาก • เวชระเบียน- เชื่อถือได้มาก

  3. เหตุผลที่เลือกเคสนี้ มุมมองของนักศึกษาแพทย์: เนื่องจากคนไข้มีอาการของโรคที่ชัดเจนและเป็นโรคที่พบได้บ่อย สามารถสะท้อนระบบบริการของโรงพยาบาลชุมชนได้ในหลายด้านตั้งแต่แรกเข้าจนกระทั่งให้กลับบ้านรวมถึงการติดตามนัดได้เป็นอย่างดี และยังสามารถสะท้อนถึงสภาพสังคมและทางเลือกทางการเงินได้ มุมมองของแพทย์ : เป็นเคสที่พบได้บ่อยในโรงพยาบาลชุมชนและคนไข้รายนี้มีอาการและอาการแสดงรวมทั้งผลการตรวจอื่นๆที่ชัดเจน

  4. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยที่มาครั้งนี้และประวัติการดูแลรักษาที่ผ่านมาสรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยที่มาครั้งนี้และประวัติการดูแลรักษาที่ผ่านมา

  5. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย Chief complaint :: • ปวดท้องน้อยมากขึ้นมา 1 วัน Present illness :: • 1 week PTA : มีไข้สูง หนาวสั่นเป็นบางช่วง มักเป็นตอนกลางคืน ปวดศีรษะร่วมด้วย กินยาไมเกรน แล้วอาการปวดศีรษะดีขึ้นแต่ยังมีไข้อยู่ เริ่มมีประจำเดือน มีอาการปวดท้องมาก ปวดแบบบิดๆ • 3 day PTA : ยังคงมีไข้สูง ปวดท้องน้อยจี๊ดๆ ปวดมากเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะแสบขัด มีกลิ่นเหม็น ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะลำบาก รู้สึกปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ปัสสาวะไม่มีเลือดปน • 1 day PTA : ไข้สูงหนาวสั่น ปวดท้องน้อยมากขึ้น

  6. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย Past History :: มีโรคประจำตัวเป็นโรคไมเกรน มีประวัติกรวยไตอักเสบเมื่อประมาณ 7 ปีก่อน ปฏิเสธประวัติการผ่าตัด, อุบัติเหตุ ปฏิเสธการใช้ยาหม้อ ยาลูกกลอน ยาชุด Personal History :: ปฏิเสธประวัติแพ้ยา แพ้อาหาร ปฏิเสธประวัติดื่มสุรา สูบบุหรี่และยาเสพติด LMP 18 ส.ค. 56(7 days PTA)

  7. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยสรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย Family History บิดาของผู้ป่วย เสียชีวิตแล้ว ปฏิเสธประวัติโรคทางพันธุกรรมอื่นๆในครอบครัว Socioeconomic History บ้านเป็นบ้านเช่า ในบ้านหนองมะค่า ต.บ้านป่า อ.แก่งคอย ที่บ้านอาศัยกันอยู่ 2 คน คือ เพื่อนรุ่นพี่และตัวผู้ป่วยเอง ประกอบอาชีพ พนักงานโรงปูน รายได้ประมาณ 15,000บาท/เดือน มารดา อายุ 41ปี ประกอบอาชีพ เสมียน น้องชาย อายุ 14ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดแก่งคอย สิทธิรักษาประกันสังคม(จ.โคราช)

  8. Physical Examination Vital SignT 39.7°cBP 97/59 mmHg HR 118/min RR 20/min BW 60kg ,Ht 166 cm BMI 21.77 kg/m General Appearance good conscious, not pale , no jaundice Skin Normal skin color, no rash, no petechiae HEENT pharynx&tonsil are not injected, cervical LN not palpable Heart no cyanosis, normal s1 , s2 ,no murmur Lungs normal breath sound , no adventitious sound Abdominal no distention , soft, moderate tenderness at suprapubic area, no rebound tenderness, no guarding, liver and spleen not palpable, left costovertebral angle tenderness Extremities no pain, no swelling, no deformities Nervous system grossly intact

  9. Lab (25.8.56) CBC

  10. Lab (25.8.56) UA

  11. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยสรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย • Provisional diagnosis • Acute pyelonephritis • Management • วัด Vital sign • ส่งตรวจ CBC, UA • ให้ Ibuprofen 400mg 1tab pcstid • Ceftriaxone 2 gm i.v. drip in NSS 100ml in 30 mins OD • Definite diagnosis • Acute pyelonephritis

  12. สรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยสรุปข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย • Home medication • Ibuprofen 1*3 oral pc #20เม็ด • Paracetamol(500) 2*prnทุก 4-6ชม.#20เม็ด • Ceftriaxone(1)i.v.2 gm od#10ถุง • 0.9%NSS 100ml # 10ถุง

  13. Follow up : UA (29/8/56)

  14. PARTICIPATORY OBSERVATION

  15. Clinical Knowledge

  16. Epidemiology Acute infection of renal pelvis or parenchyma. Incidence and prevalence 15-17 cases per 10,000 females and 3-4 cases per 10,000 males. At least 250,000 cases are diagnosed annually in the United States. Demographics Age more commonly in sexually active women more commonly in men over 50 years of age Gender more commonly in woman Genetics Vesicoureteric reflux is familial, with 10% of first-degree relatives affected Polycystic renal disease (which is often complicated by pyelonephritis) has an autosomal dominant inheritance

  17. PATHOGENESIS http://www.medscape.com/viewarticle/771300 Fecal flora colonize atthe vaginal opening ascension via the urethra > bladder > ureter > kidney. seeding of the kidneys from bacteremia seeding of the kidneys from bacteria in the lymphatics.

  18. Etiology • Adapted from Hooton TM. The current management strategies for community-acquired urinary tract infection.Infect Dis Clin North Am. Jun 2003;17(2):303-32. [Medline]. Bacterial Etiology of Urinary Tract Infections

  19. Sign & Symptoms • Classical presentation is • Fever • Flank pain • Nausea/vomiting • CVA tenderness • +/- Cystitis symptoms • Sepsis/shock http://www.medscape.org/viewarticle/412933_2

  20. Complicated UTI • involve any of the following: • Acute renal failure • Chronic renal damage leading to hypertension and renal failure • Sepsis syndromes • Renal papillary necrosis • Xanthogranulomatous pyelonephritis • Risk factor of Complicated UTI • Male • Elderly • Hospital-acquired • Pregnancy • Diabetes • Immunosuppression • Urinary tract abnormality • Childhood UTI • Recent antimicrobial use • Symptoms > 7 days http://www.medscape.org/viewarticle/412933_2

  21. Emergency Management Antipyretics Antiemetics Iv fluids Initial dose of ATB Observation up to 12 hr. http://www.medscape.org/viewarticle/412933_2

  22. Admission Indication Absolute indications Severe illness Persistent vomiting Progression of uncomplicated UTI Suspected sepsis Uncertain diagnosis Urinary tract obstruction Relative indications Age > 60 years Persistent vomiting Progression of uncomplicated UTI Suspected sepsis Uncertain diagnosis

  23. Diagnosis • OPD suggested by the history and physical examination and supported by urinalysis results, which should include microscopic analysis. Other laboratory studies are used to identify complicating conditions and to assist in determining whether the patient should be admitted. • Imaging studies may be required to make the diagnosis in infants and children • Imaging studies are rarely indicated for the diagnosis in adult except: • atypical or confusing presentation • patient deteriorates or does not respond to therapy, • important considerations are nephrolithiasis, obstructive uropathy, and perinephric abscess.

  24. Laboratory Diagnosis of Urinary Tract Infection • urine culture showing at least 10,000 CFU/ mm3 and symptoms compatible with the diagnosis. • 1,000 - 9,999 CFU/mm3 are of concern in men and pregnant women

  25. Antimicrobial Agents Used in the Treatment of Acute Pyelonephritis

  26. Management ATB Used in the Treatment of Acute Pyelonephritis 7-14 days immunocompetent host and no U/D 14-21 days in immunosuppressive course of a fluoroquinolone or TMP-SMX Urine cultures are recommended in all patient 1-2 wk. after full course of ATB. Fever generally resolves within 72 hours of starting antibiotic therapy Short-term antibiotic therapy (3 days), have 50% relapse

  27. Pyelonephritis Prevention • Drink plenty of fluids: • Drink 6 to 8 glasses of water per day. • Do not postpone urination when you feel the urge to urinate. • Empty your bladder completely when you urinate. • Try to urinate every 2 to 4 hours. • Practice safe sex: • Use condoms. • Urinate as soon as possible following sexual intercourse. • Wash the genital area each time you shower or bathe. • Wear cotton underwear. • Women should always wipe from the front to the back. • Women should avoid prolonged sitting in wet clothes. • Women should not use vaginal deodorants or perfumes. • Circumcision decreases the risk of urinary tract infections in males

  28. สรุปปัญหาผู้ป่วยเพื่อวางแผนเยี่ยมบ้านและผลการเยี่ยมบ้านสรุปปัญหาผู้ป่วยเพื่อวางแผนเยี่ยมบ้านและผลการเยี่ยมบ้าน

  29. สรุปปัญหาผู้ป่วยเพื่อวางแผนเยี่ยมบ้านสรุปปัญหาผู้ป่วยเพื่อวางแผนเยี่ยมบ้าน สรุปปัญหาผู้ป่วย • Acute pyelonephritis การวางแผนเยี่ยมบ้าน • สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณรอบตัวบ้าน • พูดคุยกับผู้ป่วยและผู้ที่อาศัยอยู่ด้วย เกี่ยวกับอาการและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยหลังออกจากโรงพยาบาล • สอบถามถึงอาชีพและลักษณะการทำงาน ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ • ดูและสอบถามถึงชีวิตความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับผู้ที่อยู่ร่วมกันและเพื่อนบ้าน • การดูแลตัวเองและคนในครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย • ให้คำแนะนำวิธีการปฏิบัติตัวไม่ให้เกิดการติดเชื้อซ้ำขึ้นอีก

  30. HOME VISIT IFFE Ideas การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะแบบที่เคยเป็นมาก่อน Feeling กังวลไม่รู้จะหายไหม Functions หยุดงานตั้งแต่วันที่มารพ.ครั้งแรกจนถึงวันที่dripยาครั้งสุดท้าย (25/8/56-29/8/56) Expectations อยากหายโดยที่ไม่ต้องนอนโรงพยาบาลและไม่กลับมาเป็นอีก

  31. ผลการเยี่ยมบ้าน อาศัยอยู่กับพี่สาวที่นับถือซึ่งประกอบอาชีพรับจ้างซักรีดผ้า ค้าขาย บ้านเป็นบ้านเช่าติดกัน 6 หลัง ซึ่งทำงานที่โรงปูนด้วยกัน และทุกบ้านสนิทสนมกันดี ภายในบ้านจัดเป็นสัดส่วนและเป็นระเบียบเรียบร้อย เวลาที่เจ็บป่วยมักจะซื้อยากินเอง ไม่ไปพบแพทย์ และผู้ป่วยกับพี่สาวที่นับถือซึ่งอาศัยอยู่ด้วยกันจะผลัดกันดูแลเวลาที่อีกฝ่ายเจ็บป่วย มาพบแพทย์ที่รพ.แก่งคอยครั้งนี้ เพราะมีอาการไข้หนาวสั่น และปวดท้องมาก เพื่อนบ้านที่อยู่ที่บ้านเช่าใกล้กันจึงรีบพามารพ. เดินทางมาด้วยรถจักรยานยนต์ ใช้เวลาเดินทางประมาณ30 นาที อาชีพ รับจ้างที่โรงปูน ทำงานเป็นกะโดยทำงานเปิดปูนผง ซึ่งจะทำงานตอนที่มีรถปูนมาลงของโดยต้องทำงานติดต่อกันเป็นเวลาครึ่งชม.-5 ชม. ขึ้นอยู่กับปริมาณของแต่ละครั้ง

  32. ผลการศึกษาจากการร่วมให้บริการกับระบบการดูแลรักษากรณีดังกล่าวผลการศึกษาจากการร่วมให้บริการกับระบบการดูแลรักษากรณีดังกล่าว • การตรวจก่อนรักษาที่โรงพยาบาล • ได้รับการตรวจ vital sign โดยพยาบาลที่แผนกฉุกเฉิน • เก็บปัสสาวะด้วยตัวเองส่งตรวจUA, เจาะเลือดด้วยพยาบาลส่งตรวจCBC การรักษาที่ ER หลังจากกลับบ้านไป นัดมาdripยาและดูอาการทุกวันเป็นเวลา 5วันและเก็บปัสสาวะส่งตรวจ UA ซ้ำอีกครั้ง drip ceftriaxone 2 gm i.v. drip in NSS 100ml in 30 mins OD

  33. ผลการศึกษาจากการร่วมให้บริการกับระบบการดูแลรักษากรณีดังกล่าวผลการศึกษาจากการร่วมให้บริการกับระบบการดูแลรักษากรณีดังกล่าว ก่อนออกจากโรงพยาบาล ไปรับยา,อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการdripยา โดยค้างชำระไว้ก่อนเนื่องจากผู้ป่วยไม่ได้เตรียมเงินมา หลังออกจากโรงพยาบาล • นัดมา drip ยา ceftriaxoneต่ออีกทุกวันในช่วงเวลาประมาณ 11โมงเช้าเป็นเวลา 4 วัน โดยนำยามาให้ที่แผนกER dripให้ แล้วไปรับใบรับรองพทย์จากแพทย์ต่อที่แผนกผู้ป่วยนอกหรือแพทย์ที่อยู่เวรที่ ERขณะนั้น (ถ้ามี) • นัดFollow up UA วันที่ 5ของการdripยาฆ่าเชื้อ(29/8/56)

  34. ผลการทบทวนข้อมูลที่มีอยู่เกี่ยวกับการจัดระบบบริการดังกล่าวผลการทบทวนข้อมูลที่มีอยู่เกี่ยวกับการจัดระบบบริการดังกล่าว

  35. ผลการทบทวนข้อมูลที่มีอยู่เกี่ยวกับการจัดระบบบริการดังกล่าวผลการทบทวนข้อมูลที่มีอยู่เกี่ยวกับการจัดระบบบริการดังกล่าว

  36. สรุปประเด็นที่สะท้อนจากการจัดบริการสรุปประเด็นที่สะท้อนจากการจัดบริการ จุดเด่น ในภาวะที่ฉุกเฉินผู้ป่วยได้รับการตรวจและดูแลเบื้องต้นอย่างเหมาะสม ทันท่วงที ผู้ป่วยสามารถค้างชำระค่าบริการไว้ก่อนได้ มีการดูแลรักษาเบื้องต้นอย่างถูกต้องและเหมาะสมตามบทบาทหน้าที่ของบุคลากร ผู้ป่วยสามารถเลือกมารับการรักษาต่อโดยไม่ต้องนอนรพ.ได้ตามที่ผู้ป่วยต้องการ • ด้านปัจเจกบุคคล (Individual): • ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment): ด้านระบบบริการสุขภาพ (Health service system): • Health resources • Health financing • Planning & management

  37. สรุปประเด็นที่สะท้อนจากการจัดบริการสรุปประเด็นที่สะท้อนจากการจัดบริการ จุดด้อย ผู้ป่วยได้รับยาฆ่าเชื้อไม่ครบคอร์ส ผู้ป่วยไม่ทราบว่าสามารถใช้สิทธิ์ประกันสุขภาพนอกเขตได้โดยไม่ต้องเดินทางไปยังที่ที่เปิดสิทธิ์ไว้แต่สามารถ แพทย์ไม่ได้อธิบายถึงความเนไปของโรคว่าจะมีอาการเป็นอย่างไรต่อไป • ด้านปัจเจกบุคคล (Individual): • ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment): • ด้านระบบบริการสุขภาพ (Health service system):

  38. ผลการศึกษาประเด็นจุดอ่อนผลการศึกษาประเด็นจุดอ่อน

  39. วิเคราะห์สิ่งที่ควรเป็น กับ สิ่งที่เป็นอยู่ Gap Analysis

  40. เสนอแนวทางและวิธีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเสนอแนวทางและวิธีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

  41. ปฏิกิริยาของ ผอ.รพช. แพทย์ ผู้เกี่ยวข้อง

More Related