1 / 40

หน่วยที่ 2 2.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ

หน่วยที่ 2 2.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ. อธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ อธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กำหนดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามปัญหาที่พบ. จุดประสงค์การเรียนรู้. มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาต้นสังกัด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

Télécharger la présentation

หน่วยที่ 2 2.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 22.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ

  2. อธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติอธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ อธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กำหนดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามปัญหาที่พบ จุดประสงค์การเรียนรู้

  3. มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาต้นสังกัด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดทำแผนปฏิบัติประจำปี และโครงการ/กิจกรรม การนำแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติ ขอบข่ายเนื้อหา

  4. หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละสังกัดพัฒนามาตรฐานหน่วยงานต้นสังกัดแต่ละสังกัดพัฒนามาตรฐาน เขตพื้นที่การศึกษาและจังหวัด พัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่ แสดงอัตลักษณ์ สถานศึกษาในสังกัดพัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่แสดงอัตลักษณ์ การพัฒนา/เพิ่ม อาจเป็น ตัวบ่งชี้ / มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาชาติ

  5. เพิ่มตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรมฯ 1.11.ร้อยละของผู้เรียนใช้วาจาที่สุภาพและเหมาะสมกับ กาลเทศะ มาตรฐานอัตลักษณ์ จังหวัดพิษณุโลก เพิ่มมาตรฐานที่ 19 ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในจังหวัดพิษณุโลก มี 3 ตัวบ่งชี้ ตัวอย่างมาตรฐานของร.ร.สตรีเฉลิมขวัญ

  6. 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 4. การดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 5. การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในสถานศึกษา 6.การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด แนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

  7. หลักการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ใช้วงจรคุณภาพ

  8. การวางระบบ (Plan) * กระบวนการในระบบย่อย * แต่ละขั้นตอนมีวิธีปฏิบัติที่ยึดหลักวิชาการ * กำหนดให้มีการบันทึกผลการปฏิบัติงานที่สามารถตรวจสอบได้ * กำหนดร่องรอยหลักฐานการทำงานที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้

  9. การทำตามระบบ(DO) *ร่วมกันปฏิบัติตามแผนที่กำหนด *รับผิดชอบระบบย่อย * สร้างร่องรอยการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ

  10. การตรวจสอบและทบทวน(ChecK)การตรวจสอบและทบทวน(ChecK) • ร่วมกันตรวจสอบและประเมินตนเอง • ผลัดเปลี่ยนกันประเมินภายในระหว่างปฏิบัติงาน • บันทึกผลการตรวจสอบ ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข • สรุปผลการประเมินเพื่อเตรียมบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศ

  11. การปรับปรุง พัฒนาระบบ (ACT) • นำปัญหา อุปสรรค มาดำเนินการแก้ไข • บันทึกผลการพัฒนาปรับปรุง • เปรียบเทียบผลกับเป้าหมาย • สรุปผลการประเมินผลการปรับปรุง และนำข้อมูลปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ

  12. เป็นกระบวนที่สำคัญที่สถานศึกษาจะต้องดำเนินการ เป็นการกำกับ ติดตามความก้าวหน้าของผลการดำเนินงานตามแผน ตรวจสอบขณะปฏิบัติงาน เทียบกับเป้าหมาย ถ้าพบไม่เป็นไปตามเป้าหมาย มีการพัฒนาปรับปรุงเป็นระยะ ๆ เป็นการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพข้อมูลที่ได้จากการประเมินส่งผลถึงการพัฒนาระบบการประเมินตนเอง การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ

  13. ข้อมูลสารสนเทศจากการตรวจสอบและทบทวน ถือเป็นข้อมูลที่นำมาประเมินตนเองโดยนำข้อมูลเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหน่วยงานต้นสังกัด และ สทศ. ถือเป็นข้อมูลอีกส่วนหนึ่งในการประเมินตนเอง ตั้งคณะทำงานมาดำเนินการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว สรุปรายงานการประเมินตนเอง (SAR) การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา

  14. มีขั้นตอน 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ ของผลการประเมินของปีที่ผ่านมาเพื่อหาจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา โอกาสในการพัฒนา อุปสรรค 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และแนวทางแก้ไข 3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.กำหนดแผนปฏิบัติการรายปี 5.การเขียนโครงการ/กิจกรรม 6.การนำแผนพัฒนาคุณภาพสู่การปฏิบัติ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

  15. 1. ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ ของผลการประเมินของปีที่ผ่านมาเพื่อหาจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา โอกาสในการพัฒนา อุปสรรค * SAR * ประเมินภายนอก (สมศ.) * รายงานโครงการ/กิจกรรม  จุดเด่น (Strength)จุดที่ควรพัฒนา(Weakness)  โอกาสการพัฒนา(Opportunity) อุปสรรค(Theats) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

  16. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไขวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไข จากปัญหาที่ได้จากการศึกษาข้อมูล อาจเกิดจากสาเหตุจาก  ผู้เรียน  ผู้สอน  ผู้บริหาร/สถานศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

  17. ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำ

  18. ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำ

  19. หลักการกำหนดนโยบาย * ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ * มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์สนองต่อมาตรฐาน * กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จชัดเจน สามารถสังเกตได้วัดได้ * มีกรอบเวลาที่เหมาะสมที่จะบรรลุมาตรฐาน 3.กำหนดเป้าหมายพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์

  20. การบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด บรรลุตามวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)

  21. กรอบแนวคิดมุ่งผลสัมฤทธิ์: การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์(Result) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) กิจกรรม (Process) วัตถุประสงค์ (Objectives) ประสิทธิภาพ(Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)

  22. ผลงานจากการดำเนินการของโรงเรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ซึ่งเรียกว่าผลทางตรง เช่น วัตถุประสงค์ : ครูมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา กิจกรรม : อบรมครูให้มีศักยภาพด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลผลิต : จำนวนครูที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพฯ  ร้อยละของครูที่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ศักยภาพของผู้เรียน ความหมายของผลผลิต

  23. ผลกระทบที่ตามมาซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องจากผลผลิต เช่นผลผลิตข้างต้นก่อให้เกิดผลลัพธ์ ดังนี้ ผลลัพธ์ : ร้อยละของนักเรียนทีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น  ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการประเมินการคิด วิเคราะห์ และคิดสร้างสรรค์  จำนวนนักเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ความหมายของผลลัพธ์

  24. สัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ คือ ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ์

  25. การเปรียบเทียบปัจจัยนำเข้า (Input) กับผลผลิต (Output) หากผลผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่าการเพิ่มขึ้นของปัจจัยนำเข้าแสดงถึงความมีประสิทธิภาพของหน่วยงาน ความหมาย ประสิทธิภาพ (Efficiency)

  26. การเปรียบเทียบค่าผลลัพธ์(Outcomes) ของงานหรือโครงการนั้นว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด ความหมาย ประสิทธิผล (Effectiveness)

  27. ตัวอย่างตัวชี้วัดผลผลิต และผลลัพธ์

  28. ตัวอย่างตัวชี้วัดผลผลิต และผลลัพธ์

  29. การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยหัวข้อ * เป้าหมายการพัฒนา * ตัวชี้วัดความสำเร็จ * ยุทธศาสตร์ที่ใช้พัฒนา * ผู้รับผิดชอบ * ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด 3.กำหนดแผนยุทธศาสตร์

  30. จากแผนยุทธศาสตร์แต่ละยุทธศาสตร์ นำมาจัดทำแผนปฏิบัติการรายปี ที่ระบุ * ผู้รับผิดชอบ *กรอบเวลา *ทรัพยากรที่จำเป็น เช่นบุคลากร งบประมาณ * ตัวชี้วัดความสำเร็จ * วิธีการ/นวัตกรรมที่ใช้ 4.การกำหนดแผนปฏิบัติการรายปี

  31. เป้าหมายการพัฒนา: ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระหลัก ยุทธศาสตร์ : โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระหลัก ตัวอย่างแผนปฏิบัติการรายปี

  32. ตัวอย่างแผนปฏิบัติการรายปี : โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ฯ

  33. จากแผนปฏิบัติประจำปี มาจัดทำโครงการ และรายละเอียดของกิจกรรม ก่อนจัดทำโครงการ อาจจัดทำกรอบความคิดของโครงการเพื่อแสดงชัดเจนว่า โครงการมีกิจกรรมย่อยอะไร มีอะไรที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จแต่ละกิจกรรมย่อย 5. การจัดทำโครงการ/กิจกรรม

  34. เป้าหมายการพัฒนา: ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฯ กิจกรรม พัฒนาครู 5 กลุ่มสาระหลัก นวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูเก่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ครูได้เทคนิคการสอน และนำไปใช้ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้ากลุ่มสาระ 5 กลุ่ม กรอบความคิด: โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ ฯ

  35. จุดประสงค์ของกิจกรรม วิธีดำเนินการ (P D C A ) การประเมินผล ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร่องรอยหลักฐานการดำเนินงาน ส่งผลต่อมาตรฐานและตัวบ่งชี้ นำกรอบความคิดมาจัดทำรายละเอียดแต่ละกิจกรรม

  36. ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. สร้างการยอมรับ 2. มอบหมายการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ 3. ทำความเข้าใจส่วนต่าง ๆ ของแผน การนำแผนพัฒนาคุณภาพสู่การปฏิบัติ

  37. นำร่างสุดท้ายแผนพัฒนา เข้าสู่การพิจารณา ให้ข้อคิดเพิ่มเติม จาก บุคลากรของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เขตพื้นที่ ขั้นการสร้างการยอมรับ

  38. มอบหมายผู้รับผิดชอบ โดยการส่งมอบแผนให้หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้าระดับชั้น ตามสายงานบังคับบัญชา และทีมงานอย่างเป็นทางการ ขั้นการมอบหมายการปฏิบัติอย่างเป็นทางการ

  39. ผู้ปฏิบัติทำความเข้าใจผู้ปฏิบัติทำความเข้าใจ * เจตนารมณ์ของสถานศึกษา * เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เทคนิควิธีการ * แผนปฏิบัติการรายปี * การประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นการทำความเข้าใจแผนพัฒนาคุณภาพ

  40. กิจกรรม

More Related