1 / 41

นำเสนอโดย นายการุญ จันทรางศุ อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 1

แนะนำสภาวิศวกร/การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมภายใต้พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542. นำเสนอโดย นายการุญ จันทรางศุ อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 1 ห้องประชุม 3 ชั้น 4 อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร. เจตนารมณ์. โครงสร้างการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม. พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒.

jens
Télécharger la présentation

นำเสนอโดย นายการุญ จันทรางศุ อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนะนำสภาวิศวกร/การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมภายใต้พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 • นำเสนอโดย • นายการุญ จันทรางศุ • อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 1 • ห้องประชุม 3 ชั้น 4 อาคารวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร

  2. เจตนารมณ์

  3. โครงสร้างการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโครงสร้างการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

  4. พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒

  5. จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

  6. สภาวิศวกร จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๖ ของ พรบ. วิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของสภาวิศวกร ( มาตรา ๗ )

  7. วิศวกรรมควบคุม ( มาตรา ๔ ) • “วิชาชีพวิศวกรรม” หมายความว่า • วิชาชีพวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรมโยธาCE / • วิศวกรรมเหมืองแร่MinE / วิศวกรรมเครื่องกลME / • วิศวกรรมไฟฟ้าEE / วิศวกรรมอุตสาหการIE / • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ENV / วิศวกรรมเคมี CHE • และสาขาวิศวกรรมอื่น ๆ ที่กำหนดในกฎกระทรวง • http://www.coe.or.th/_coe/_product/20080215172108-1.PDF

  8. อำนาจหน้าที่ของสภาวิศวกร ( มาตรา ๘ ) ออกใบอนุญาต สั่งพักใบอนุญาต หรือ เพิกถอนใบอนุญาต รับรองปริญญา / ประกาศนียบัตร รับรองความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เสนอแนะรัฐมนตรี การตั้ง/การเลิก สาขาวิศวกรรมควบคุม ออกข้อบังคับต่าง ๆ ของสภาวิศวกร

  9. โครงสร้าง สภาวิศวกร รมว.มหาดไทย สภานายกพิเศษ กำกับ ดูแล/ยุบสภา สภาวิศวกร • สมาชิกสภาฯ • สามัญ • วิสามัญ • กิตติมศักดิ์ กรรมการสภาฯ • * เลือกตั้ง 15 คน • คณาจารย์ 5 คน • ทั่วไป 10 คน • * แต่งตั้งโดยการเสนอของสภานายกพิเศษ 5 คน นายกสภาฯ อุปนายก 1,2 เลขาธิการ เหรัญญิก ตำแหน่งอื่นๆ สำนักกฎหมายฯ คณะอนุกรรมการฯ สำนักงานสภาวิศวกร กรรมการจรรยาบรรณ 9

  10. สำนักงานสภาวิศวกร มีหัวหน้าสำนักงานสภาวิศวกร บริหารงาน ภายใต้การกำกับดูแล ของเลขาธิการสภาวิศวกร ประกอบด้วยงาน 6 ฝ่าย 1 สำนัก คือ ฝ่ายทะเบียนและใบอนุญาต ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพวิศวกรรม ฝ่ายบริหาร และประชาสัมพันธ์ ฝ่ายการเงิน บัญชี งบประมาณและการพัสดุ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายต่างประเทศ สำนักกฎหมายและจรรยาบรรณ

  11. คณะกรรมการสภาวิศวกร กรรมการสภาฯทั้งหมด 20 คนแบ่งออกเป็น1. กรรมการที่ได้รับเลือกตั้งจากมาตรา 24(1) จำนวน 10 คนจากสมาชิกทั่วไปสาขาละ 1คน(CE/EE/ME/IE/MINE/ENV/CHE)ที่ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละสาขาและที่ได้คะแนนสูงสุดอีก 3 คน (เดิมมี 5 สาขา ๆ ละ 2 คนที่ได้คะแนนสูงสุด)2. กรรมการที่ได้รับเลือกตั้งจากมาตรา 24(2) จำนวน 5 คนจากสมาชิกที่ทำงานอยู่ในสถาบันการศึกษา ที่ได้คะแนนสูงสุดแต่ละสาขาเรียงตามลำดับ3. กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากสภานายกพิเศษ ( รมต. มหาดไทย ) จำนวน 5 คนไม่จำกัดสาขา

  12. CE 7 / EE 4 / ME 3 /IE 2 / ENV 2 / CHE 1 / MinE 1

  13. คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 นายกมล ตรรกบุตรนายกสภาวิศวกร นายการุญ จันทรางศุอุปนายกสภาวิศวกรคนที่หนึ่ง นายประสงค์ ธาราไชย อุปนายกสภาวิศวกรคนที่สอง นายเกชา ธีระโกเมนเลขาธิการสภาวิศวกร นายชัชวาลย์ คุณค้ำชูเหรัญญิกสภาวิศวกร คณะกรรมการฯ สมัยที่ 5 วาระระหว่างปี 2555 – 2558

  14. คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 นายวินิต ช่อวิเชียร นายจักรพงศ์ อุทธาสิน รศ.ดร.ชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ นายลือชัยทองนิล นายจำรูญ มาลัยกรอง นายฐิระวัตร กุลละวณิชย์ นายชัยสวัสดิ์ กิตติพรไพบูลย์ นายสุรชัย พรภัทรกุล นายพิชิต ลำยองรศ.ดร.มงคล มงคลวงศ์โรจน์ นายอมร พิมานมาศ รศ.สุรี ขาวเธียร นายประศาสน์ จันทราทิพย์ นางนิตยา มหาผล นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ คณะกรรมการฯ สมัยที่ 5 วาระระหว่างปี 2555 – 2558

  15. หน้าที่ของวิศวกรใหม่ เมื่อจะประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องดำเนินการ ดังนี้ สมัครสมาชิกสภาวิศวกร ขอรับใบอนุญาต พัฒนา เรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง หรือ อบรม CPD ผ่านสมาคมวิชาชีพ Year

  16. สมาชิกสภาวิศวกรและใบอนุญาตฯสมาชิกสภาวิศวกรและใบอนุญาตฯ พรบ. ก.ว. ๒๕๐๕(ก.ว./ก.ส. ก.มหาดไทย) ถือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม(ใบกว.) สภาวิศวกร (ตั้งแต่๓๐พย. ๒๕๔๒) มาตรา๔๙ o ต้องเป็นสมาชิกสภาวิศวกร o ถือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม 17

  17. นโยบายสภาวิศวกร หลักการ จัดเตรียมนโยบายหลักสนองตอบเจตนารมณ์ ของพระราชบัญญัติวิศวกร ๒๕๔๒ ในการควบคุม คุ้มครอง และส่งเสริมการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เพื่อความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน นโยบายหลัก และ นโยบาย 3 ปี

  18. นโยบายสภาวิศวกร วิสัยทัศน์ (Vision) สภาวิศวกรเป็นองค์กรหลักทางด้านวิศวกรรมและเป็นตัวแทนของ ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศ

  19. นโยบายหลัก 1.) ด้านการประกอบวิชาชีพ 1.1 ปลุกจิตสำนึกการประกอบวิชาชีพที่ต้องรับผิดชอบต่อ สังคมและสาธารณะ 1.2 ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพเพื่อการเลื่อนระดับสามัญวิศวกรและ วุฒิวิศวกร และการต่ออายุใบอนุญาต 1.3 การรับรองความรู้ความสามารถการประกอบวิชาชีพ สำหรับสาขา วิศวกรรมที่ไม่ควบคุม 1.4 ส่งเสริมการจัดทำมาตรฐานการปฎิบัติวิชาชีพและรับรองเป็นส่วน หนึ่งของมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ

  20. นโยบายหลัก 2.) ด้านองค์กร 2.1 พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ของ สมาชิก 2.2 พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสร้างเครือข่ายเพื่อประโยชน์ ในงานด้านวิศวกรรมและสมาชิก 2.3 เพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับดูแลและคุ้มครอง การประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

  21. นโยบายหลัก 3.) ด้านการศึกษา 3.1 สร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา องค์กรวิชาชีพ และสภาวิศวกร เพื่อให้มีนโยบายที่สอดรับกัน 3.2 ปรับปรุงกระบวนการในการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม

  22. นโยบายหลัก 4.) ด้านต่างประเทศ 4.1 เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรวิชาชีพ วิศวกรรมในประเทศต่างๆ 4.2 พัฒนาศักยภาพของวิศวกรไทยให้มี ขีดความสามารถแข่งขันในระดับสากล

  23. นโยบายหลัก 5.) ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 5.1 กำกับดูแลการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมให้อยู่ใน มาตรฐานและจรรยาบรรณที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของสังคม 5.2 มีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นแก่ภาครัฐในการ แก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมที่เป็นประเด็นสาธารณะ 5.3 ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมเพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  24. นโยบาย 3 ปี คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 หลักการ จัดเตรียมแผนปฏิบัติการ 3 ปี สนองตอบนโยบายหลักฯ เน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินการของพันธมิตรฯ และการทำงานเป็นทีมอย่างเป็นรูปธรรม คณะกรรมการฯ สมัยที่ 5 วาระระหว่างปี 2555 – 2558

  25. แผนปฏิบัติการ 3 ปี คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 (2555 -2558) ทบทวนระเบียบ ข้อบังคับและวิธีปฏิบัติที่เป็นข้อจำกัดในการดำเนินงานและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและปกป้องสิทธิประโยชน์ของสมาชิก กำหนดแนวทางและรายละเอียดการจัดตั้งกองทุนพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรม ดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุน เร่งรัดการพัฒนามาตรฐานความสามารถการประกอบวิชาชีพของวิศวกรสาขาต่างๆ ทบทวนกระบวนการ วิธีการการให้ใบอนุญาตและการเลื่อนระดับในสาขาควบคุมอย่างเป็นรูปธรรม กำหนดแนวทางการส่งเสริมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในสาขาส่งเสริมและวิธีการในการขึ้นทะเบียน

  26. แผนปฏิบัติการ 3 ปี คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 (2555 -2558) • เร่งรัดโครงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องและปรับปรุงวิธีการใช้กลไก CPD • ในการต่ออายุใบอนุญาตและเลื่อนระดับ • 7. กำหนดแผนงานการฝึกอบรม เสริมสร้างขีดความสามารถการประกอบ • วิชาชีพวิศวกรรม จัดการฝึกอบรมและกิจกรรมต่างๆ อย่างเข้มข้น • โดยขอความร่วมมือจากองค์กรทางวิชาชีพและสถาบันการศึกษา • 8. ทบทวนระเบียบ ข้อกำหนด กระบวนการ วิธีการการรับรองปริญญา • ในปัจจุบัน กำหนดแนวทางการรับรองตามมาตรฐานความรู้ • ความสามารถในการประกอบวิชาชีพ โดยคณะกรรมการรับรอง • หลักสูตร (accreditation)

  27. แผนปฏิบัติการ 3 ปี คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 (2555 -2558) 9. กำหนดแผนการสนับสนุน สมาคม องค์กรทางวิชาชีพ ในการพัฒนาความรู้ ฝึกอบรม และดำเนินการตามแผน 10. จัดตั้งแผนงานการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีวิศวกรรม ในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ และกำหนดผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน คณะกรรมการสภาวิศวกรสมัยที่ 5 อยู่ระหว่างการทำ Road Map ของสภาวิศวกร เพื่อกำหนดแนวนโยบายที่ชัดเจน จะประกาศใช้ ในโอกาสต่อไป

  28. คุณสมบัติของสมาชิกสามัญ ( มาตรา ๑๒ ) • อายุไม่ต่ำกว่า ๑๘ ปี • สัญชาติไทย • ได้รับปริญญาหรือเทียบเท่าสาขาที่สภาวิศวกรรับรอง • ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณ • ไม่เคยต้องโทษจำคุกในคดีผิดจรรยาบรรณ • ไม่เป็นผู้จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ

  29. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ • ภาคีวิศวกร(Associate Engineer) • สามัญวิศวกร(Professional Engineer) • วุฒิวิศวกร(Senior Professional Engineer) • ภาคีวิศวกรพิเศษ (Adjunct Engineer) ขอบเขตงาน กำหนดอยู่ในข้อบังคับ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ พ.ศ. 2551

  30. การขอใบอนุญาตประเภท นิติบุคคล • สำหรับบริษัทที่ปฏิบัติงานวิศวกรรมควบคุม เช่น งานออกแบบและคำนวณ งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต • สำนักงานใหญ่ของบริษัทตั้งอยู่ในประเทศไทย • ผู้ถือหุ้น กรรมการ สมาชิกผู้บริหาร ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งหรือ หุ้นส่วน กรรมการผู้จัดการ ผู้มีอำนาจผู้เดียวต้องได้รับใบอนุญาต • ใบอนุญาตมีอายุ 1 ปี ต่ออายุใบอนุญาตก่อนหมดอายุภายใน 90 วัน

  31. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ อัตราค่าธรรมเนียม * ต่ออายุล่วงหน้าได้ไม่เกิน 6 เดือน ใบอนุญาตมีอายุ 5 ปี ยกเว้นนิติบุคคลมีอายุ 1 ปี

  32. วิศวกรไม่รู้กฎหมาย งานวิศวกรรมต้องสะดุด โทษทางอาญาโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ สาระสำคัญ ที่ต้อง พิจารณา ข้อห้าม / ข้อบังคับ / บทกำหนดโทษ

  33. กฎหมาย 17 ฉบับ ที่วิศวกรควรศึกษา 1) กฎหมายวิศวกร พรบ. 2505 / 2542 2) กฎหมายผังเมือง พรบ. 2495 / 2535 3) กฎหมายควบคุมอาคาร พรบ. 2522 / 2543 4) กฎหมายโรงงาน พรบ. 2535 5) กฎหมายสิ่งแวดล้อม พรบ. 2535 6) กฎหมายการอนุรักษ์พลังงาน พรบ. 2535 / 2538 7) กฎหมายควบคุมน้ำมัน และก๊าซ พรบ. 2542 8) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พรบ. 2541

  34. กฎหมาย 17 ฉบับ ที่วิศวกรควรศึกษา 9) กฎหมายขุดดินและถมดิน 10) กฎหมายการเดินอากาศ 11) กฎหมายช่างรังวัดเอกชน 12) กฎหมายจัดสรรที่ดิน 13) กฎหมายอาคารชุด 14) กฎหมายทางหลวง 15) กฎหมายโรงแรม 16) กฎหมายวิทยุคมนาคม 17) กฎหมายว่าด้วยเขตปลอดภัยในราชการทหาร

  35. ลักษณะงาน วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละสาขามี 6 งาน ดังนี้

  36. ประเภทและขนาดงานที่ควบคุมประเภทและขนาดงานที่ควบคุม กำหนดอยู่ในกฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550 หาอ่านได้จาก www.coe.or.th Year

  37. บทลงโทษ

  38. บทสรุป

  39. ขอขอบคุณ นายการุญ จันทรางศุ www.coe.or.th

More Related