1 / 23

N-Clean

N-Clean. น้ำหมักมหัศจรรย์. พ.ญ. ดุสิตา ชนะชัยวิบูล วัฒน์. EM Effective Micro-bacteria.

Télécharger la présentation

N-Clean

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. N-Clean น้ำหมักมหัศจรรย์ พ.ญ. ดุสิตา ชนะชัยวิบูลวัฒน์

  2. EM Effective Micro-bacteria ศาสตราจารย์ ดร.เทรโอะฮิงะ (TEROU HIGA) แห่งมหาวิทยาลัยริวกิว เมืองโอกินาว่า ประเทศญี่ปุ่น ใช้เทคนิคทางชีวภาพ รวบรวมเฉพาะกลุ่มจุลินทรีย์ หมวดสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ช่วยปรับปรุงสภาพความสมดุลของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น จุลินทรีย์หมวดสร้างสรรค์ EM ได้แก่ กลุ่มจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง(Photosynthetic Bacteria) แลกโตบาซิลัสเพนนิซีเลี่ยม ไตรโคเดอมา ฟูซาเรียม สเตรปโตไมซิสอโซโตแบคเตอ ไรโซเบียม ยีสต์  รา  ฯลฯ รูดอร์ฟสไทน์เนอ เรียกว่า ไบโอไดนามิค (1924) มาซาโนบุ ฟูกุโอกะ เรียกว่า ทฤษฎีฟางเส้นเดียว (1984) ศ.เทรูโอ ฮิกะ เรียกว่า อีเอ็ม (1994)

  3. EM consists of the following five families of micro-organisms: • Lactic acid bacteria: these bacteria are differentiated by their powerful sterilizing properties. They suppress harmful micro-organisms and encourage quick breakdown of organic substances. In addition, they can suppress the reproduction of Fusarium, a harmful fungus. • Yeasts: these manufacture anti-microbial and useful substances for plant growth. Their metabolites are food for other bacteria such as the lactic acid and actinomycetes groups. • Actinomycetes: these suppress harmful fungi and bacteria and can live together with photosynthetic bacteria. • Photosynthetic bacteria: these bacteria play the leading role in the activity of EM. They synthesize useful substances from secretions of roots, organic matter and/or harmful gases (e.g. hydrogen sulfide) by using sunlight and the heat of soil as sources of energy. They contribute to a better use of sunlight or, in other words, better photosynthesis. The metabolites developed by these micro-organisms are directly absorbed into plants. In addition, these bacteria increase the number of other bacteria and act as nitrogen binders. • Fungi that bring about fermentation these break down the organic substances quickly. This suppresses smell and prevents damage that could be caused by harmful insects.

  4. Photosynthetic bacteria

  5. EM Effective Micro-bacteria • One of the most popular microbial technologies being used worldwide now and EM products have been on the market since 1983 in Japan. • EM comes in a liquid form and consists of naturally-occurring beneficial microorganisms. • Throughout the world, EM applications are made in the farming, livestock, environmental clean-up (polluted waterways, lakes and lagoons), and health industries. • What EM is not, harmful, pathogenic, genetically-engineered/modified (GMO), chemically-synthesized ,nor a drug or fertilizer.

  6. Benefits in using EM • For use in the home in daily life for everyone • The recycling of kitchen waste and turning it into valuable organic material; • In the garden to improve soil structure, increase productivity and to suppress both disease and weeds • For solving all kinds of environmental problems such as water, air, and soil pollution; • In agriculture and horticulture, fruit and flower cultivation; • In animal husbandry and for all kinds of pets; • In fisheries, aquariums and swimming pools; • In personal bodily hygiene and for the prevention and treatment of health problems.

  7. เชื้อจุลินทรีย์โปรไบโอติก(Probiotics)ในน้ำหมักชีวภาพ โดย ศ.ดร. ไมตรี สุทธิจิตต์ น้ำหมักชีวภาพ โปรไบโอติก สิ่งส่งเสริมชีวิต เชื้อโปรไบโอติก= เชื้อชูชีพ ย่อยอาหารที่รับประทานเข้าไปให้เป็นสารที่มีประโยชน์ คนไทยรู้จักนมเปรี้ยว • ผลิตภัณฑ์จากการหมัก พืชผักผลไม้ โดย Lactic acid bacteria or Pro-biotic bacteria • มนุษยชาติรู้จักการหมักมานานแล้ว • มีบันทึกการใช้ครั้งแรก ปี พ.ศ. 2508 • มีใช้ในไทยครั้งแรกปี พ.ศ. 2525 • คนไทยรู้จักน้ำลูกยอ

  8. ศ.ฮิกะได้ให้ไว้โดยละเอียด ดังนี้ “จุลินทรีย์ต้องการอากาศและไม่ต้องการอากาศนั้นสามารถ ทำงานร่วมกันในลักษณะช่วยเหลือเกื้อกูลกันบ้าง ขัดแย้งต่อสู้กันบ้าง มีการทำงานแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. จุลินทรีย์กลุ่มดีหรือกลุ่มสร้างสรรค์ มีประมาณ 10% 2. จุลินทรีย์กลุ่มก่อโรคหรือกลุ่มทำลาย มีประมาณ 10% 3. จุลินทรีย์กลุ่มเป็นกลาง มีประมาณ 80% ปฏิกิริยาหรือผลที่ออกมา จะเป็นไปตามจำนวนจุลินทรีย์ กลุ่มดีหรือกลุ่มก่อโรคที่มีมากกว่า กล่าวคือ 1. ถ้ามีจุลินทรีย์สร้างสรรค์มาก สภาวะโลกจะมีสภาพ สะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากมลพิษและโรคทั้งปวง 2. ถ้ามีจุลินทรีย์กลุ่มทำลายมาก สภาวะโลกจะมีสภาพ ตรงข้าม คือเกิดภาวะมลพิษเน่าเหม็น มีโรคระบาดทั่วไป 3. ส่วนจุลินทรีย์กลุ่มเป็นกลางนั้นมิได้เป็นกลาง แต่คอย สนับสนุนกลุ่มดีหรือกลุ่มก่อโรคที่มีมากให้สามารถแสดง ปฏิกิริยาได้เพิ่มขึ้น”

  9. มาตรฐานส้วมของโรงพยาบาลมหาชนะชัยมาตรฐานส้วมของโรงพยาบาลมหาชนะชัย HASS สะอาด (H: Healthy) ความสะอาดของห้องส้วม สุขภัณฑ์ทั้งหมด ไม่มีกลิ่นเหม็น และควรมีสภาพแวดล้อมสวยงาม มีส้วมเพียงพอสำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์และ ประชาชนทั่วไปและส้วมต้องพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ เพียงพอ (A: Accessibility) ปลอดภัย (S: Safety) แจ่มใส (S: Smile) หลังใช้ประทับใจ พอใจ ต้องปลอดภัยขณะ ใช้ส้วม

  10. นโยบายโรงพยาบาลเรื่องส้วมนโยบายโรงพยาบาลเรื่องส้วม ข้อที่ 1 จัดทำส้วมให้เพียงพอ ข้อที่ 2 รักษาส้วมให้คงทน ข้อที่ 3 ให้เจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาส้วมให้ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 4 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร ตามวิสัยทัศน์ของโรงพยาบาล บริการดีเลิศ ผลงานดีเยี่ยม “เป็นแบบอย่างในการสร้างความตื่นตัวให้แก่ประชาชนและองค์กรอื่นในการคิดและปฏิบัติเรื่องส้วม”

  11. จากการพัฒนาระบบบริการ และนโยบายเรื่องส้วมของทางโรงพยาบาลมหาชนะชัยในปี 2549 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลมหาชนะชัยมีแนวคิดที่จะให้ดำเนินการพัฒนาในเรื่องส้วม โดยมีการทำน้ำยาทำความสะอาดทั่วไปใช้เองในโรงพยาบาล จึงได้มีการพัฒนากองทุนน้ำหมักชีวภาพขึ้นในปี 2549 และได้ดำเนินการพัฒนาน้ำหมักชีวภาพจนสามารถสนับสนุนโรงพยาบาลให้ได้รางวัลเรื่องส้วมสาธารณในระดับเขตในปี 2550 และในระดับประเทศในปี 2551 ทีม ENV

  12. การใช้น้ำหมักของโรงพยาบาลมหาชนะชัยการใช้น้ำหมักของโรงพยาบาลมหาชนะชัย • 2552 • N-Clean ระยะพัฒนาผลิตภัณฑ์

  13. การสร้างเครือข่ายลดมลพิษ/ลดภาวะโรคร้อนการสร้างเครือข่ายลดมลพิษ/ลดภาวะโรคร้อน

  14. นวัตกรรมน้ำยาเอนกประสงค์N-Cleanนวัตกรรมน้ำยาเอนกประสงค์N-Clean

  15. การทำน้ำหมักชีวภาพในโรงพยาบาลมหาชนะชัยการทำน้ำหมักชีวภาพในโรงพยาบาลมหาชนะชัย ส่วนผสม 1.ผลไม้ที่มีมากในท้องถิ่น และหาได้ในช่วงนั้นๆ3 กิโลกรัม (มะกรูด, มะเฟือง, มะขาม, ส้มโอ)2. น้ำตาลอ้อยสีรำ 1 กิโลกรัม 3. น้ำสะอาด 10 ลิตร วิธีเตรียมน้ำหมักชีวภาพ 1. ล้างผลไม้ที่หาได้ในช่วงนั้นๆ แล้วหั่นตามขวางใส่ในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท เช่น ถังพลาสติก หรือ โอ่ง • 2. เติมน้ำตาลอ้อยสีรำและน้ำในอัตราส่วน ดังนี้น้ำตาล 1 ส่วน(1 กก.) + มะกรูด /มะเฟือง/มะขาม 3 ส่วน (1 กก.) + น้ำสะอาด 10 ส่วน (10 ลิตร) 3. คนให้เข้ากันหมักทิ้งไว้ 3 เดือนจนได้สารละลายสีน้ำตาลใส และมีกลิ่นเปรี้ยว

  16. สู่ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาน้ำหมักชีวภาพสำหรับทำความสะอาดพื้นและห้องน้ำให้น่าใช้มากขึ้น 2.เพื่อส่งเสริมการใช้น้ำยาทำความสะอาดพื้นและห้องน้ำที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. เพื่อสนับสนุนระบบบำบัดน้ำเสียในโรงพยาบาล (ท่อน้ำไม่อุดตัน และไม่เน่าเหม็น)

  17. ส่วนประกอบมีดังนี้ 1.น้ำหมักชีวภาพอายุ 3 เดือนขึ้นไป5 ลิตร (ทุน 40 บาท/ลิตร)2.เกลือ1 กิโลกรัม(ทุน 5บาท/กก.)3.น้ำด่างขี้เถ้า5ลิตร(ทำเอง)-นำขี้เถ้าจากการเผาไหม้ มาแช่น้ำทิ้งไว้ จนน้ำใส ทิ้งไว้นานยิ่งดี (สัดส่วนที่ใช้ ขี้เถ้า 5 กิโลกรัม : น้ำสะอาด 100 ลิตร) 4.Texapon N70 (สารทำให้เกิดฟอง) 1 กิโลกรัม(ทุน 65 บาท/กก.) การผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ N-Clean การผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ N-Clean 1.ผสม Texapon N70 กับเกลือเข้าด้วยกัน กวนด้วยไม้พายในทิศทางเดียวเมื่อเกลือละลายหมดน้ำจะมีลักษณะขุ่นขาว คล้ายกาว หนืดและข้นใช้เวลาในการกวน 1-2 ชั่วโมง 2.เติมน้ำด่างขี้เถ้า และน้ำหมักชีวภาพสลับกัน กวนต่อจนเข้ากันดี ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 3.ตั้งทิ้งไว้ 1 คืน จะได้น้ำยาอเนกประสงค์ N-Clean ในลักษณะข้นใส เป็นเงา มีกลิ่นหอมอ่อนๆ จากน้ำหมักชีวภาพ

  18. ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ น้ำเอนไซม์จากผลไม้ • ใช้แทนผงซักฟอกโดยใช้น้ำเอนไซม์ 3-5 ฝาขวด ต่อน้ำ 3 ขัน แช่ผ้าไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง ขยี้ผ้าแล้วซักด้วยน้ำสะอาด 1-2 ครั้ง ผ้าจะนุ่ม, สะอาด (ถ้าแช่ไว้ 1 คืนจะสะอาดยิ่งขึ้น) น้ำที่ซักผ้าและแช่ผ้าแล้วให้นำไปรดต้นไม้จะทำให้งอกงามออกดอกผลเร็วทันใจ 2. ใช้แทนยาสระผมโดยใช้น้ำเอนไซม์ 1 ส่วน ผสมน้ำ 5 ส่วน หมักผมไว้ 2-3 นาที ค่อยล้างออกด้วยน้ำสะอาด ผมจะนิ่มสะอาดปราศจากรังแคแก้คันศีรษะ 3. ใช้แทนสบู่ได้ เพราะมีความเป็นกรดอ่อนๆ ( ที่เรียกว่าสาร Fruitamin, AHA, DHA ) โดยใช้น้ำเอนไซม์ 3-5 ขวด ต่อน้ำ 1 ขัน เอาลูบราดให้ทั่วตัว ทิ้งไว้ 2-3 นาที ลดผดผื่นคัน และขจัดกลิ่นตัวได้อีกด้วย

  19. 4. ใช้ขัดส้วม ทำให้ส้วมสะอาด ขจัดกลิ่น ทำให้ส้วมไม่เต็ม โดยใช้น้ำเอนไซม์ 1 ส่วน ผสมน้ำ 2 ส่วน ราดทั่วบริเวณส้วม ทิ้งไว้สัก 5 นาที แล้วค่อยขัด ช่วยทำให้พื้น และเซรามิคเงางาม 5. ใช้เช็ดกระจก ล้างรถ จะเป็นเงางามมาก โดยใช้น้ำเอนไซม์ 1 ส่วน ผสมน้ำ 2 ส่วน เช็ดรถ เช็ดกระจก แทนน้ำยาล้างรถได้ดีและป้องกันสุนัขฉี่ใส่ล้อได้ด้วย 6. ใช้กับภาคเกษตร โดยใช้น้ำเอนไซม์ 1 ส่วนผสมน้ำ 100- 1000 ส่วน รดต้นไม้ จะทำให้ออกดอกผลเร็ว 7. ใช้ขจัดน้ำเน่าเสีย โดยนำน้ำเอนไซม์เทลงไปตรงบริเวณน้ำเน่า น้ำจะไม่มีกลิ่นเหม็น 8. เป็นแหล่งผลิตโอโซน (O3) ช่วยให้อากาศสะอาดและแก้ปัญหา Green House Effect

  20. การใช้น้ำหมักชีวภาพในโรงพยาบาลมหาชนะชัยการใช้น้ำหมักชีวภาพในโรงพยาบาลมหาชนะชัย • เริ่มทดลองใช้เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ณ ตึกผู้ป่วยใน • เดือนมีนาคม 2550 ครอบคลุมทุกจุด 1.ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อวัสดุสิ้นเปลือง เฉลี่ยได้เดือนละ 2,720 บาท 2. แมลงวันลดลง 3. เชื้อรา คราบสกปรกกำจัดได้ง่ายขึ้น ประหยัดแรง 4. พื้นห้อง และกระเบื้องเงางาม 5. ไม่กัดมือ ไม่แสบเยื่อจมูกผู้ดูแลความสะอาด 6. ร่องยาแนวกระเบื้องไม่ผุกร่อน

  21. น้ำหมักสร้างสุข

  22. สวัสดี

More Related