1 / 19

การเรียบเรียงรายงานและการอ้างอิงแหล่งข้อมูล

การเรียบเรียงรายงานและการอ้างอิงแหล่งข้อมูล. ขั้นตอนการเขียนรายงาน. 1. การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมสารนิเทศ 1.1 การเลือกและการกำหนดหัวข้อรายงาน 1.2 การสืบค้นสารนิเทศ 1.3 การรวบรวมและประเมินสารนิเทศ

jin-mcguire
Télécharger la présentation

การเรียบเรียงรายงานและการอ้างอิงแหล่งข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเรียบเรียงรายงานและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลการเรียบเรียงรายงานและการอ้างอิงแหล่งข้อมูล

  2. ขั้นตอนการเขียนรายงานขั้นตอนการเขียนรายงาน 1.การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมสารนิเทศ1.1การเลือกและการกำหนดหัวข้อรายงาน1.2การสืบค้นสารนิเทศ1.3การรวบรวมและประเมินสารนิเทศ 2.การเขียนโครงเรื่องและการบันทึกข้อมูล 2.1การเขียนโครงเรื่อง2.2การอ่านและการบันทึกข้อมูล3.การเขียนและการจัดทำรายงาน 3.1การเรียบเรียงรายงาน 3.3 การเขียนบรรณานุกรม3.2การอ้างอิงแหล่งข้อมูล 3.4 การจัดทำรูปเล่มรายงาน

  3. ส่วนประกอบของรายงาน ส่วนประกอบตอนต้นปกนอก หน้าปกใน คำนำ สารบัญ ส่วนเนื้อเรื่องบทนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป ส่วนประกอบตอนท้ายภาคผนวก บรรณานุกรม

  4. วิธีการเรียบเรียงรายงานวิธีการเรียบเรียงรายงาน 1. จัดแยกบัตรบันทึกตามหัวข้อในโครงเรื่อง2. ตรวจสอบ แก้ไขโครงเรื่องอย่างละเอียดอีกครั้ง3. เรียบเรียงเนื้อเรื่องตามโครงเรื่องที่วางไว้3.1 เขียนด้วยความรู้ความเข้าใจที่กระจ่างชัด3.2 มีบทนำที่ชัดเจนและดึงดูดใจผู้อ่าน3.3ใช้สำนวนภาษาเป็นของตนเอง3.4 มีความหลากหลายในการใช้คำไม่ควรใช้ภาษาวกวนซ้ำซาก3.5 ต้องแจ้งแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้อ้างอิง4. อ่านรายงานฉบับร่างและตรวจแก้ไขปรับปรุง5. เขียนรายงานฉบับจริงให้ถูกต้องเป็นระเบียบ

  5. ข้อควรคำนึงในการเขียนรายงานข้อควรคำนึงในการเขียนรายงาน สิ่งที่ไม่ควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง คือ การคัดลอกข้อความหรือการนำความคิดที่ผู้อื่นเขียนไว้มาเป็นของตน โดยไม่แจ้งแหล่งที่มาของข้อมูลเพื่อให้ได้รับการยอมรับหรือได้รับผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง (Plagiarism)

  6. การอ้างอิงแหล่งข้อมูลการอ้างอิงแหล่งข้อมูล การอ้างอิง คือ การแจ้งถึงแหล่งที่มาของข้อมูล ที่นำมาประกอบการเขียนรายงาน • การอ้างอิงระบบนาม-ปี(Author-Date)

  7. การอ้างอิงระบบนาม-ปี รูปแบบการอ้างอิง (ชื่อผู้แต่ง, ปีพิมพ์: เลขหน้า) (ชยันต์ วรรธนะภูติ, 2545: 72) (Gibaldi, 1999: 32)

  8. รูปแบบการอ้างอิงระบบนาม-ปีรูปแบบการอ้างอิงระบบนาม-ปี 1. การอ้างอิงแบบไม่ระบุเลขหน้า( สมปอง เพ็งจันทร์, 2546 )2. การอ้างอิงแบบระบุเลขหน้า(ชฎารัตน์สุนทรธรรม, 2541: 122-130)3. การอ้างอิงแบบเน้นชื่อผู้แต่งมากกว่าผลงานสำนักงานสถิติแห่งชาติ (2542: 62-65) ได้ทำการสำรวจเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตรจ.เชียงรายพบว่า.....

  9. หลักเกณฑ์การอ้างอิง ผู้แต่งคนเดียว(ผาสุขอินทราวุธ, 2543: 25) (Bruce, trans., 1998) (คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์, 2545) (ม.ล.สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์, 2545: 55) (ทักษิณ ชินวัตร, 2544: 46) (มาลา คำจันทร์, 2537: 35) (ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2538: 20; 2540: 49) (ธเนศวร์ เจริญเมือง, 2538ก: 20; 2538ข: 109)(Denyer, 1969: 3: 71; 1974: 4: 59-65)

  10. หลักเกณฑ์การอ้างอิง ผู้แต่ง2 คน(สมควร กวียะ และมาลี บุญศิริพันธุ์, 2531: 27-30) (A. Comrie and L. Comrie, 2001: 209)ผู้แต่ง 3 คน(สุมน อมรวิวัฒน์, สวัสดิ์ จงกล และไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2542: 9) (Anderson, McBeen and Gessin, 1986: 68)ผู้แต่งมากกว่า 3 คน(อนุชิต กิจสวัสดิ์ และคนอื่น ๆ, 2531: 7) (Hollett and others, 1989: 72-75)

  11. หลักเกณฑ์การอ้างอิง ผู้แต่งที่เป็นสถาบัน(ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2542: 195) (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2536: 85-92) (บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย, 2545: 72-75) (สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, 2546: 7-12) ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง(หลักการแปรรูปอาหารเบื้องต้น, 2544: 98-104)

  12. หลักเกณฑ์การอ้างอิง การอ้างอิงงานหลายชิ้นพร้อมกัน(ไมตรี สุทธจิตต์, 2535: 212; วิจิตร บุณยโหตระ, 2537: 78; สรจักร ศิริบริรักษ์, 2542: 320) การอ้างอิงเอกสารที่มีผู้อื่นอ้างไว้(วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน, 2537: 166 อ้างถึงใน สมเกียรติ์ โอสถสภา, 2536: 49)การอ้างอิงในลักษณะอื่น ๆ (อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, สัมภาษณ์) (พระพยอมกัลยาโณ, ปาฐกถา)

  13. หลักเกณฑ์การอ้างอิง การอ้างอิงสื่ออิเล็กทรอนิกส์CD-ROM(สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, ม.ป.ป.: ซีดี-รอม)Web Site(สาโรจน์ เกษมสุขโชติกุล, 2543: ระบบออนไลน์)E-mail (สาโรจน์ เกษมสุขโชติกุล, 2543: จดหมายอิเล็กทรอนิกส์)

  14. ตัวอย่าง การอ้างอิงระบบนาม-ปี บทบาทของการเป็นผู้นำ บทบาทของการเป็นผู้นำในวงการธุรกิจ…………................................... อาจกล่าวได้ว่า “ความสำเร็จหรือความล้มเหลว การมีกำไรหรือขาดทุนขององค์กรนั้น ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้นำ” (นุกูล ประจวบเหมาะ, 2537: 37-38)

  15. การเขียนเชิงอรรถ การอธิบายความเพิ่มเติมหรือโยงข้อความใช้ เชิงอรรถเสริมความ และ เชิงอรรถโยงความโดยมีหลักเกณฑ์ในการลงรายการดังนี้1. คำอธิบายอยู่ส่วนล่างของหน้าและอยู่หน้าเดียวกันกับข้อความที่อ้าง2. ข้อความหรือคำอธิบายจะเขียนแยกจากเนื้อหาเด่นชัด3. การกำหนดสัญลักษณ์กำกับข้อความ3.1 เริ่มด้วย 1 ในแต่ละหน้า3.2เริ่มด้วย 1 ในแต่ละบท3.3 เริ่มด้วย 1 แล้วเรียงต่อเนื่องกันไปจนจบเรื่อง

  16. ตัวอย่างเชิงอรรถเสริมความตัวอย่างเชิงอรรถเสริมความ ล้านนา1เป็นดินแดนที่มีเอกลักษณ์และลักษณะเฉพาะของตนเองที่สืบทอดกันมาจากอดีตจนถึงปัจจุบันเป็นเวลาหลายร้อยปีมาแล้วและมีลักษณะเฉพาะตนที่ต่างไปจากภาคอื่นๆ ............................................... __________________________________________ 1ดินแดนแห่งศิลปวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของไทยซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ 8 จังหวัดได้แก่เชียงรายเชียงใหม่ลำปางลำพูนพะเยาแพร่น่านและแม่ฮ่องสอน

  17. ตัวอย่างเชิงอรรถโยงความตัวอย่างเชิงอรรถโยงความ .................... สถิติการเกิดของประชากรจังหวัดเชียงใหม่1…............................................................................................. __________________________________________ 1ดูตารางสถิติประกอบในหน้า 12

  18. ตัวอย่างเชิงอรรถโยงความตัวอย่างเชิงอรรถโยงความ ....................รายชื่อผู้ประกอบการธุรกิจผ้าไหมไทย1…...….......................................................................................... __________________________________________ 1ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ภาคผนวก ก

More Related