1 / 6

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน

Télécharger la présentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ด จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอ็ดจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดขอนแก่น สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 1,161 แห่ง (สปช.1,056 แห่ง สศ. 105 แห่ง) สังกัด เอกชน 213 แห่ง สังกัด กศน. 26 แห่ง สังกัด สกอ. 5 แห่ง สาธิต 2 แห่ง สังกัด สอศ. 10 แห่ง 1. วท.ขอนแก่น 2. วท.น้ำพอง 3. วอศ.ขอนแก่น 4. วษท.ขอนแก่น 5. วช.ขอนแก่น 6. วก.ขอนแก่น 7. วก.ชุมแพ 8.วก.กระนวน 9. วก.บ้านไผ่ 10. วก.พล • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมขอนแก่น • เป็นศูนย์กลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาและเทคโนโลยี และ • สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 59,978บาท ต่อปี (อันดับ 1 ของ • ภาค อันดับ 37ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 28.71% รองลงมา • การขายส่ง การขายปลีก 17.21 % และภาคเกษตร • 13.01 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าฝ้ายมัดหมี่ ผ้าฝ้ายทอมือ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,747,542 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน131,753 คน หรือ10.96% • จำนวนผู้ว่างงาน 18,635 คน เป็นชาย 10,385 คน เป็นหญิง 8,250 คน อัตราการว่างงาน 2.15 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 299,752 คนหรือ 36.34% ลำดับรองลงมา คือ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 128,510 คน หรือ15.58% และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 93,606 คน หรือ 11.35 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การทอผ้าไหมและผ้าพื้นเมือง 2) การปลูกมันสำปะหลัง 3) การซ่อมบำรุงยานพาหนะ • 4) การปลูกข้าว 5) การปลูกพืชไร่ 6) การผลิตผ้าไหมและผ้าพื้นเมือง • 7) การเลี้ยงวัวเนื้อ 8) การแปรรูปและการถนอมอาหาร • 9) การให้บริการท่องเที่ยวเชิงวัฒนาธรรม 10) การเป็นลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม • (ที่มา อศจ.ขอนแก่น) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป รองลงมาทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 303,395 คน หรือ 37.40% ลำดับรองมาเป็นลูกจ้างเอกชน 270,805 คน หรือ 33.38% ช่วยธุรกิจครัวเรือน 139,731 คน หรือ 17.22 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,385 คน หรือ 0.77% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 644,393 คน หรือ 78.11% • เป็นที่น่าสังเกตว่าแรงงานอาชีวะมีเพียง 19,679 คน หรือ 2.39%สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 49 แห่ง มีการจ้างงาน 9,408 คนรองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 3,393 แห่ง มีการจ้างงาน 7,223 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดมหาสารคาม สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 632 แห่ง (สปช. 576 แห่ง และสศ. 56 แห่ง) สังกัด เอกชน 29 แห่ง สังกัด กศน. 12 แห่ง สังกัด สกอ. 3 แห่ง สาธิต 1 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.มหาสารคาม 2. วอศ.มหาสารคาม 3. วษท.มหาสารคาม 4. วช.มหาสารคาม 5. วก.พยัคฆภูมิพิสัย 6. วก.วาปีปทุม • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและทิศตะวันตกมีเขตติดต่อกับจังหวัด • เศรษฐกิจของภาคและประเทศไทย คือจังหวัด • ขอนแก่น • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 31,524บาท ต่อปี (อันดับ 8 • ของภาค อันดับ 64 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากาการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 23.49 % รองลงมา • ภาคเกษตร 20.19 % • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ การทำนาข้าว ปลูกพืชต่าง ๆ เช่น • มันสำปะหลัง อ้อยโรงงาน ยาสูบ ฯลฯ • ประชากร • จำนวนประชากร 936,883 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 70,629 คน หรือ 10.94 % • จำนวนผู้ว่างงาน 4,751 คน เป็นชาย 4,166 คน เป็นหญิง 585 คน อัตราการว่างงาน 0.5 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 287,973 คนหรือ 55.63% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 56,315 คน หรือ 10.88 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ดอกไม้ประดิษฐ์และแจกันไม้ 2) ไส้กรอกบ้านเมืองเจีย 3) ปุ๋ยชีวภาพบ้านกางกี่ • 4) ไม้กวาดบ้านดงเค็ง 5) ตุ๊กตาจากไหมพรม 6) ข้าวกล้องปลอดสาร • 7) ส้มวัวบ้านเมืองเจีย 8) ทอผ้าไหมบ้านป่ายาง 9) ขนมนางเล็ก • 10) ผ้ามัดหมี่ (ทีมา อศจ. มหาสารคาม) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 218,849 คน หรือ 42.27% ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 157,610 คน หรือ 30.45 % และเป็นลูกจ้างเอกชน 89,969 คน หรือ 17.38% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 710 คน หรือ 0.14% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 419,536 คน หรือ 81.04% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,029 คน หรือ 1.16% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 14 แห่ง มีการจ้างงาน 4,164 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  4. จังหวัดร้อยเอ็ด สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 865 แห่ง (สปช. 799 แห่ง และ สศ. 66 แห่ง) สังกัด เอกชน 60 แห่ง สังกัด กศน. 19 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 8แห่ง 1.วท.ร้อยเอ็ด 2. วท.สุวรรณภูมิ 3. วอศ.ร้อยเอ็ด 4.วษท.ร้อยเอ็ด 5. วก.ร้อยเอ็ด 6. วก.โพนทอง 7. วก.เกษตรวิสัย 8.วก.พนมไพร • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของทุ่งกุลาร้องไห้ ถึง 700,000 ไร่ ที่เป็น • แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพดี และอร่อยที่สุด • ในประเทศไทย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 28,461 บาท ต่อปี (อันดับ 14 • ของภาค อันดับ 71 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 25.57 % รองลงมา • ภาคเกษตร 17.13 % และการผลิตอุตสาหกรรม • 12.77% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ข้าวหอมมะลิ ผ้าไหม • ประชากร • จำนวนประชากร 1,310,672 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 จำนวน 98,623 คน หรือ11.04% • จำนวนผู้ว่างงาน 1,098 คน เป็นชาย 342 คน เป็นหญิง 756 คน อัตราการว่างงาน 0.14 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 411,703 คนหรือ 54.21% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ช่างแม่พิมพ์ 2) ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 3) ศิลปะดอกไม้ประดิษฐ์ 4) เครื่องปั้นดินเผา • 5) การเกษตรแบบผสมผสาน 6) การซ่อมเครื่องเสียง 7) ล้างแอร์ 8) ซ่อมเครื่องยนต์ • 9) ซ่อมรถจักรยานยนต์ 10) ซ่อมบำรุงเครื่องจักรกลเกษตร (ที่มา อศจ. ร้อยเอ็ด) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 329,805 คน หรือ 43.42%ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 216,634 คน หรือ 28.52 % และเป็นลูกจ้างเอกชน 132,207 คน หรือ 17.41% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 423 คน หรือ 0.06% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา,594,697 คน หรือ 78.31% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 7,480 คน หรือ 0.98% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 20 แห่ง มีการจ้างงาน 3,219 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  5. กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

  6. กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง

More Related