1 / 27

ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำ ข้อตกลงการค้าอาเซียน

ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำ ข้อตกลงการค้าอาเซียน. นางสาวชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. เศรษฐกิจโลก. เศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง). ภาคการเงิน. ภาคการผลิต. เกษตร. อุตสาหกรรม. บริการ. ทรัพย์สินของประเทศ

jola
Télécharger la présentation

ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำ ข้อตกลงการค้าอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำข้อตกลงการค้าอาเซียน นางสาวชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  2. เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง) ภาคการเงิน ภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ทรัพย์สินของประเทศ คน+ความรู้ เทคโนโลยี ปัจจัยพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจเป็นการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ให้มีชีวิตร่วมกัน ดูที่ละส่วนไม่ได้ แก้ปัญหาแยกส่วนไม่ได้

  3. ในระยะที่ผ่านมา การส่งออกเป็นภาคสำคัญที่ช่วยพยุงให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การขยายตัวของเศรษฐกิจไทย 2544 – 2551 (ประมาณการ) Export = 15.6 % GDP = 4.5 % Consumption = 2.6 % Investment = 2.3 % Gov’t = -2.7% Sources: Export from MOC, 22 Jan 2552, others from NESDB, 24 Nov.2551

  4. ภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทยภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ในปัจจุบัน • โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว • ประเทศไทย ไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยวได้ • เนื่องจาก มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด • สัดส่วนการค้าระหว่างประเทศต่อ GDP • ในปี 2551 สูง ถึง 129 % โดยแยกเป็น • การส่งออก 64 % และการนำเข้า 65% • การค้าระหว่างประเทศ จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อการสร้างรายได้ และการจ้างงาน สัดส่วนการส่งออกสินค้าต่อ GDP (เฉลี่ยปี 2548-2551) 63.1% สัดส่วน(การนำเข้า)บริการที่ทำให้ไทยได้รับเงินตราจากต่างประเทศต่อ GDP (เฉลี่ยปี 2548-2551) 10.6% : ข้อมูลจาก สศช. และ ธปท. ณ ก.พ.52

  5. อาเซียน ASEAN อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 • ก่อตั้งเมื่อปี 2510 (1967) ครบรอบ 41 ปี (เมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2551) • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก 5

  6. วิวัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจวิวัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ 1. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนในระยะแรก (พ.ศ. 2510-2535 หรือ ยุคของความร่วมมือในช่วง 25 ปีแรก) 2. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในระยะที่สอง (พ.ศ. 2535-2546 หรือ ยุคทศวรรษแห่งการดำเนินงานเขตการค้าเสรีอาเซียน) 3. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน (พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน หรือ ยุคของการไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)

  7. พิมพ์เขียว AEC • AEC Blueprint ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  8. โครงสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโครงสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  9. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค

  10. พันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้น สินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5% ไทย มี 4 รายการ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ สินค้าใน Highly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  11. ผลของเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) การส่งออกของไทยไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด 33,429 US$ 27,155 US$

  12. พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ยกเลิกเป็นระยะ ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกใน1มค.2551 (2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552 (2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  13. พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนสัญชาติอาเซียน 2. เปิดเสรีการค้าบริการ โลจิสติกส์ สาขาอื่น

  14. พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint 3. เปิดเสรีลงทุน • ให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเซียน • การดำเนินงานตามความตกลงด้านการลงทุนฉบับใหม่ของอาเซียน (ACIA) 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน

  15. พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ด้านเกษตร อาหารและป่าไม้ 5. ความร่วมมือสาขาอื่นๆ • ด้านทรัพย์สินทางปัญญา • การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน(คมนาคม ITC พลังงาน) • ด้านเหมืองแร่ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ด้านการเงิน • SMEs

  16. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการและการลงทุน ตลาดขนาดใหญ่ • ประชากรกว่า 570 ล้านคน • Economy of Scale • ดึงดูดการค้าการลงทุนจากภายนอกอาเซียน

  17. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ • ได้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน • วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้น • เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ได้เปรียบที่สุด กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน กลุ่มที่มีความถนัด ด้านเทคโนโลยี กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย

  18. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เพิ่มอำนาจการต่อรอง • 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว • แนวร่วมในการเจรจาต่อรองโดยเฉพาะกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ

  19. ให้ประโยชน์ที่มากขึ้น กว่า FTA ทวิภาคีของไทยกับประเทศคู่ค้า โดยการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมในอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 FTAอาเซียน-คู่เจรจา อาเซียน – จีน ACFTA อาเซียน – ญี่ปุ่น AJFTA อาเซียน – เกาหลี AKFTA อาเซียน – ANZ (ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์) อาเซียน – อินเดีย AIFTA อาเซียน – EU • เป็นที่น่าสนใจสำหรับประเทศอื่นๆ ที่จะทำ FTA กับอาเซียน

  20. สถานะล่าสุด FTA ของ ASEAN กับคู่เจรจา ทิศทางการเจรจา : จัดทำความตกลงอาเซียน-คู่เจรจาหลายกรอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของไทย Single Undertaking อาเซียน-ญี่ปุ่น ลงนามแล้ว อยู่ระหว่างการดำเนินกระบวนการเพื่อมีผลใช้บังคับ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ลงนามข้อตกลง FTA อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ในช่วงการ ประชุม Summit ครั้งที่14 เมื่อวันที่ 27 กพ. 52 แล้ว อาเซียน-EU พักการเจรจาชั่วคราว แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ ความตกลงว่าด้วย : สินค้า บริการ ลงทุน อาเซียน-จีน ใช้บังคับ 20 กรกฎาคม 2548 ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2550 อยู่ระหว่างรอการลงนาม อาเซียน-เกาหลี สินค้า / บริการ ไทยเข้าร่วมลงนามแล้ว เมื่อ 27 กพ. 52 อยู่ระหว่างการเจรจา อาเซียน-อินเดีย อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา รอลงนาม

  21. ตัวอย่างสาขาที่มีศักยภาพและสาขาที่อ่อนไหวตัวอย่างสาขาที่มีศักยภาพและสาขาที่อ่อนไหว สาขาที่มีศักยภาพ สาขาที่อ่อนไหว • น้ำมัน (ปาล์ม ถั่วเหลือง) • โคนม/โคเนื้อ • ชา/กาแฟ • หอม/กระเทียม • ไหมดิบ • น้ำตาล • ผลิตภัณฑ์เกษตร/ยาง • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์ • อุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • วัสดุก่อสร้าง • สินค้า • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพและความงาม • บริการธุรกิจ • ก่อสร้างและออกแบบ • การเงิน (ธนาคาร ประกันภัย) • โทรคมนาคม • ค้าปลีก-ค้าส่ง • บริการ • อุตสาหกรรมผลิตสินค้าเกษตร • อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าแฟชั่น • อุตสาหกรรมผลิตสินค้ายานยนต์ • ICT • การทำนา • ป่าไม้ • การลงทุน

  22. ผลกระทบ • ภาคเกษตร/อุตสาหกรรมภายในประเทศที่มีความอ่อนแอไม่สามารถแข่งขันได้ • อุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบและชิ้นส่วนจากภายนอกอาเซียนจะมีต้นทุนการผลิตสูง

  23. คำถาม? • สาขาที่ไม่พร้อมแข่งขันย่อมได้รับผลกระทบ 1) ทำไมภาครัฐยังต้องเข้าไปมีส่วนร่วมรวมไปเปิด ตลาดการค้า ไปรวมกลุ่มกับเขา 2) จะชะลอระยะเวลาการเปิดเสรีออกไปได้หรือไม่ โดยเฉพาะสาขาที่ไม่พร้อม

  24. ติดต่อ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ มาตรการรองรับผลกระทบ • กองทุนเพื่อการปรับตัว ของภาคการผลิตและบริการ • ให้ความช่วยเหลือผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ • กองทุนช่วยเหลือของกระทรวงเกษตรฯ • พรบ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure)

  25. ติดต่อ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ แนวทางการปรับตัว • เพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน • สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างแบรนด์ • ใช้กลยุทธ์ตลาดเชิงรุก เจาะตลาดผู้ซื้อ • พัฒนาและผลิตสินค้าตรงตามความต้องการของตลาด • กลยุทธ์ระยะยาว • นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ • ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา • ศึกษาหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ

  26. ติดต่อ กรมเจรจาการค้าฯ กระทรวงพาณิชย์ แนวทางการปรับตัว • ปรับปรุงเตรียมแผนรองรับสำหรับสินค้าที่ขาดศักยภาพแข่งขัน • ติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างใกล้ชิด • พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาระบบบริหารจัดการ • หากพบมาตรการกีดกันทางการค้า แจ้งหน่วยงานภาครัฐ

  27. www.dtn.go.thwww.thaifta.com Call Center: 0-2507-7444 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

More Related