1 / 7

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามม

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง. หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ เช่น อาคารบางประเภท โรงงาน หรือเรือ ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติต่างๆ เช่น.

jovan
Télécharger la présentation

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ เช่น อาคารบางประเภท โรงงาน หรือเรือ ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติต่างๆ เช่น พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อย่างไรก็ตาม มาตรฐานใดๆ ก็จะต้องไม่ด้อยกว่ามาตรฐานน้ำทิ้งที่ออกตามความใน พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

  2. คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกอบด้วย • ความเป็นกรด-ด่าง (pH) • บีโอดี (BOD, Biochemical Oxygen Demand) คือ ปริมาณออกซิเจนที่ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในเวลา 5 วัน ที่อุณหภูมิ 20oC • ปริมาณของแข็ง (Solids) • ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) • ปริมาณตะกอนหนัก (Settleable Solids) • ปริมาณของแข็งละลาย (Dissolved Solids) • ซัลไฟด์ (Sulfide) สารประกอบซัลเฟอร์

  3. คุณภาพน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกอบด้วย....(ต่อ) • ไนโตรเจน (Nitrogen) • ทีเคเอ็น (TKN) ไนโตรเจนที่เป็นสารอินทรีย์ และแอมโมเนียไนโตรเจน • ออร์กานิก-ไนโตรเจน (Organic nitrogen) คือไนโตรเจนที่อยู่ในรูปของสารอินทรีย์ และสามารถย่อยสลายได้ • แอมโมเนีย-ไนโตรเจน (Ammonia nitrogen) คือ ไนโตรเจนที่อยู่ในโปรตีนของพืชหรือสัตว์ หรือที่เกิดจากการย่อยสลายของออร์กานิก-ไนโตรเจน มาเป็นแอมโมเนีย • น้ำมันและไขมัน (Fat, Oil and Grease) ที่ลอยบนผิวน้ำ

  4. หมายเหตุ : *ปริมาณสารละลายที่เพิ่มขึ้นจากปริมาณสารละลายในน้ำใช้ปกติ สรุปมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ออกตามความในมาตรา 55 พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

  5. สรุปประเภทของอาคาร

  6. สรุปประเภทของอาคาร

  7. หมายเหตุ : ปัจจุบันควบคุมเฉพาะประเภท ก. สรุปประเภทของอาคาร

More Related