1 / 24

การยกระดับคุณภาพโรงเรียน สู่มาตรฐานสากล

การยกระดับคุณภาพโรงเรียน สู่มาตรฐานสากล. วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมอะเดรียติค พาเลซ กรุงเทพมหานคร. สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. นายนคร ตังคะพิภพ.

kalei
Télécharger la présentation

การยกระดับคุณภาพโรงเรียน สู่มาตรฐานสากล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การยกระดับคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลการยกระดับคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ณ โรงแรมอะเดรียติค พาเลซ กรุงเทพมหานคร สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นายนคร ตังคะพิภพ

  2. คิดถึงตัวเรา(โรงเรียนเรา) ก้าวอย่างไรได้ผล...แต่ไม่ยุ่งยาก • โรงเรียนใหญ่ โรงเรียน ดี เด่น ดัง มีวัฒนธรรมการทำงานเดิม • ปรับตัวบ้าง ต้องเห็นทางตลอดแนว....(ครูทุกคนเห็นพ้อง) • ของดี..ของเดิม เพียง Reorganize ทำให้ก้าวกระโดด • ยุทธศาสตร์ คำหรู แต่ไม่ใช่ของใหม่ในโรงเรียนเก่า • จังหวะนี้เป็นโอกาสอย่าให้จุดอ่อนบางจุดหลุดลอยไปจากการปรับ • ไม่ควรกวนจุดแข็งให้สับสน เพียงนำมาต่อติดในกลยุทธ์ก็ใช้ได้ นำองค์กร สร้างกลยุทธ์ วัด/วิเคราะห์/จัดระบบ เน้นผู้เรียน จัดกระบวนการ ขับเคลื่อนครู ครูขับเคลื่อน เล็งผลลัพธ์ นายนคร ตังคะพิภพ

  3. มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นประเทศไทยในสังคมโลก นายนคร ตังคะพิภพ

  4. โลกยุคใหม่ Globalization EDUCATION เน้นระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ในการผลิตกำลังคน COMPETITION เน้นการแข่งขัน ซึ่งต้องอาศัยคุณภาพกำลังคน อยู่ดี แบบไทย CHANGE จำเป็นต้องเปลี่ยนระบบการจัดการ/หลักสูตร/วิธีการ

  5. มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน นายนคร ตังคะพิภพ

  6. เห็นช่องทางปรับหลักสูตร/แนวทางเห็นช่องทางปรับหลักสูตร/แนวทาง รู้ เข้าใจ อธิบายได้ จัดรูปแบบการดำเนินงาน-ลงมือพัฒนา-วิเคราะห์ต่อเนื่อง

  7. ASEAN + 3 Japan (ญี่ปุ่น) KOR (เกาหลีใต้) China (จีน) ค้นหา สิ่งเปลี่ยนไป ไม่เพียงประวัติศาสตร์ เพื่อ รู้เขา รู้เรา (ประชากร กำแพงกั้น โลจิสติกส์(วิศวกรรม บริหารธุรกิจ สาสนเทศ)ฯลฯ) นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร แต่...จะแน่ใจได้อย่างไรว่า จะทำได้ยั่งยืน

  8. มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยในประเทศทุกกลุ่ม • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กไทยในประเทศทุกกลุ่ม เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ นายนคร ตังคะพิภพ

  9. นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ปรับให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ประเทศไทย มีพื้นที่แตกต่างอย่างไร ประเทศไทย มีอะไรเด่น/ด้อย ครูมิติเดิม/มิติใหม่ สร้างได้ แต่ใช้เวลา ช่องว่างวิถีชีวิตแตกต่าง จัดการได้ด้วยการศึกษา ที่ ผู้นำทุกระดับ รับลูกกันเป็นทอด ๆ ผู้นำทางวิชาการ คือ ผู้สร้างสรรค์ ความรู้ สมรรถนะ และจริยธรรม ด้วยวิธีการที่เกิดผล ต่ออนาคตของคน

  10. มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง นายนคร ตังคะพิภพ

  11. ผู้นำทางวิชาการ คือ ผู้สร้างสรรค์ ความรู้ สมรรถนะ และจริยธรรม ด้วยวิธีการที่เกิดผล ต่ออนาคตของคน นายนคร ตังคะพิภพ

  12. มองเห็นกลุ่มเป้าหมายทั่วทั้งประเทศก่อนจึงค่อย ๆ ย้อนกลับมามองให้แคบลง • เห็นประเทศไทยในสังคมโลก • เห็นเด็กไทยในสังคมอาเซียน • เห็นเด็กไทยทุกกลุ่มในประเทศ • เห็นเด็กในทั้งจังหวัด/เขต พ.ท. • เห็นเด็กในเขตพื้นที่บริการ • เห็นเด็กของโรงเรียนตนเอง • เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม เห็นตัวเด็กรายบุคคล/จัดกลุ่ม นายนคร ตังคะพิภพ

  13. ความซับซ้อนของเซลล์สมอง สู่ การจัดการเรียนรู้ ศักยภาพทางสมองเกี่ยวข้องการรับ/เรียนรู้ ตามขีดความสามารถ

  14. ส่งเสริมเส้นทางตามศักยภาพนักเรียนจัดกลุ่มตามแนวคิดของ Gardner สำรวจ/ปรับตัว ในชั้น ปฐมวัย-ม.ต้น ความคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking การคิดแบบวิทยาศาสตร์(Scientific Thinking) ตัดสินใจสู่เส้นทางตรงกับศักยภาพตน ในชั้น ม.ปลาย เตรียมอาชีพในอนาคตในขั้นอุดมศึกษาได้บรรลุผลและมีวิถีชีวิตที่มีความสุข

  15. เชื่อว่า... เพียงให้ความสำคัญต่อครูให้ถูกกลุ่ม ก็สามารถทำงานได้อย่างไม่กดดัน ความหลากหลายเป็นโอกาสเปรียบเทียบ ความเป็นมาตรฐานไทยสู่สากล แต่เป็นจุดที่ต้องตระหนักในเอกภาพ + เครือข่ายร่วมมือจึงจำเป็น หน่วยเหนือผ่อนคลายระเบียบจึงสำคัญ นายนคร ตังคะพิภพ

  16. หลักสูตรคือจุดปรับสำคัญสู่การเปลี่ยนแปลงเด็กไทยหลักสูตรคือจุดปรับสำคัญสู่การเปลี่ยนแปลงเด็กไทย เน้นเฉพาะทางให้เป็นเลิศ (วิทย์ คณิต ภาษา อาชีพ ดนตรี กีฬา ศิลปะ) ปรับเนื้อหา/วิธีการ ให้มีความเข้มข้น เทียบมาตรฐานสากล ทฤษฎีองค์ความรู้(Theory of Knowledge) การเขียนเรียงความชั้นสูง( Extended Essay) โลกศึกษา(Global Education) การสร้างโครงงาน(Create Project Work) นายนคร ตังคะพิภพ

  17. มาตรฐานของผู้เรียนสู่สากล ต้องมีความเป็นผู้นำในแต่ละมาตรฐานทั่วไป และมีคุณภาพสูงอย่างน้อยใน ๔ ด้านต่อไปนี้ (๑)ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษในทุกระดับการศึกษา และภาษาต่างประเทศที่ ๒ อีก ๑ ภาษา ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (๒) การใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ผลงาน • มีความรู้วิชาการและวิชาพื้นฐานอาชีพในขั้นการคิดวิเคราะห์ • หรือสร้างสรรค์ผลงาน (๔) ใจกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นและมีจิตสำนึกสาธารณะ นายนคร ตังคะพิภพ

  18. The Four P’s The Four C’s P Product Strategy C Customer Solution คุณภาพนักเรียน เส้นทางเลือกของผู้เรียน P Place Strategy คุณภาพสถานศึกษา C Customer Cost มาตรฐาน/ข้อกำหนด P Promotion Strategy C Communication คุณภาพการจัดโอกาส กลยุทธ์สื่อสารจูงใจ P Price Strategy C Convenience ประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ง่ายต่อการเข้าใจ/เข้าถึง อ้างถึง เอกสารบรรยายของ สมบูรณ์ ศรีอนุรักษ์วงศ์ ม.รามคำแหง

  19. The Four P’s The Four C’s ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนเหล่านี้ ต้องมีกระบวนการและเครื่องมือที่ดี หาก ผู้นำสถานศึกษา คิด/รวบรวม/จัดระบบ/ใช้ คาดว่า ยกระดับคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลได้ P Product Strategy C Customer Solution คุณภาพนักเรียน เส้นทางเลือกของผู้เรียน P Place Strategy คุณภาพสถานศึกษา C Customer Cost มาตรฐาน/ข้อกำหนด P Promotion Strategy C Communication คุณภาพการจัดโอกาส กลยุทธ์สื่อสารจูงใจ P Price Strategy C Convenience ประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ง่ายต่อการเข้าใจ/เข้าถึง อ้างถึง เอกสารบรรยายของ สมบูรณ์ ศรีอนุรักษ์วงศ์ ม.รามคำแหง นายนคร ตังคะพิภพ

  20. การจัดการเชิงกลยุทธ์ TQA Organization จัดให้เป็นภาพประทับตา/ใช้อย่างประทับใจ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ • สังคม • การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Strategic BSC HRM HRD ปัจจัยภายใน ธรรมาภิบาล Vision Values Goal การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น บุคลากร การนำองค์กร ผลลัพธ์ มอก. HNQA Map KPI การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CRM Customer Survey HA/HPH ISO QC/TPM Tools & STD Six sigma วัด วิเคราะห์ สารสนเทศ และจัดการความรู้ MIS DSS KM

  21. IT/ภาษา ….สู่ชีวิตการบริหาร-การเรียนรู้ ก่อนปี 2015 รายงาน ความก้าวหน้า /พัฒนายั่งยืน 3 2 1 สร้างความ ตระหนัก กลุ่มพัฒนา ผู้บริหาร/ครู Trainer /RovingT coaching 4 พัฒนา Coaching กลุ่มวางใจ กลุ่มห่วงใย กลุ่มใกล้ชิด ภาษา IT/Eng C-Learning/ E-Learning/WCSSP IT/Eng เพื่อการบริหาร/เรียนรู้ แรงบันดาลใจ :IT& Eng เพื่อการบริหาร/เรียนรู้ krusiriwan@hotmail.com 7’JAN’2010

  22. การจัดตั้งเครือข่ายพัฒนา 3 ระดับ ๑.เครือข่ายกลุ่มภาคีภายในโรงเรียนประเภทเดียวกัน -จำแนกตามพื้นที่กลุ่มจังหวัด และเชื่อมโยงกับเครือข่ายอุดมศึกษา -จำแนกตามบริบท และวัตถุประสงค์ที่มีทิศทางเดียวกัน ๒.เครือข่ายภาคีแม่ข่ายสู่ลูกข่ายอย่างน้อย ๑ โรงเรียน/ปี ๓. เครือข่าย ทวิภาคีกับโรงเรียนดีในต่างประเทศมีบันทึกความร่วมมือ นายนคร ตังคะพิภพ

  23. แนวทางการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จแนวทางการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ TQA Organization ปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่อง 9 วัดและประเมินผล การดำเนินงาน 8 ปฏิบัติตามแผน ปฏิบัติการ 7 เสริมศักยภาพ ภายในองค์การ 6 วางแผนปฏิบัติการ ประจำปี 5 วางแผนกลยุทธ์ ระยะสั้นและยาว 4 ประเมินสภาพ โรงเรียนในปัจจุบัน 3 กระตุ้นให้เกิด การปรับปรุง 2 หาความต้องการ นักเรียน&ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1 กระบวนการทำงาน ในองค์กรใช้หลักการของTQM : 9 ขั้นตอน ในการพัฒนา คุณภาพบริหาร World -class ที่มา : อาจารย์ศุภชัย เมืองรักษ์ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

  24. ขอบคุณครับ

More Related