1 / 17

นโยบายการต่างประเทศของไทย

นโยบายการต่างประเทศของไทย. 1. บริบทโลกและภูมิภาค. Geopolitics. Geoeconomics. สู่ประชาคมอาเซียน. โลกาภิวัตน์. บริบทไทย/ ความต้องการของไทย. การบริหารภาครัฐที่มี บูรณาการ. ขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ. การพัฒนาที่ยั่งยืน/ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน.

kamal-wall
Télécharger la présentation

นโยบายการต่างประเทศของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการต่างประเทศของไทยนโยบายการต่างประเทศของไทย 1

  2. บริบทโลกและภูมิภาค Geopolitics Geoeconomics สู่ประชาคมอาเซียน โลกาภิวัตน์

  3. บริบทไทย/ ความต้องการของไทย การบริหารภาครัฐที่มี บูรณาการ ขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ การพัฒนาที่ยั่งยืน/ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  4. เสถียรภาพทางการเมือง Strategic location ศักยภาพทางเศรษฐกิจ/ ฟื้นฟูหลังอุทกภัย Friendly people/ Open Society การทูตสายกลาง/ ประสานผลประโยชน์ ต่างประเทศมองไทย (จุดแข็ง)

  5. การเมืองภายใน แรงงานต่างด้าว ยาเสพติด/ ค้ามนุษย์ คอร์รัปชั่น การทูตแบบลู่ตามลม จังหวัดชายแดนใต้ ทรัพย์สินทางปัญญา การศึกษา/ ภาษาอังกฤษ ต่างประเทศมองไทย (จุดอ่อน)

  6. 4. ยกสถานะและบทบาทเชิงยุทธศาสตร์ของไทยใน เวทีโลก 2. รักษาสภาพแวดล้อม บรรยากาศให้มีสันติสุข เพื่อสร้าง strategic environment 3. ส่งเสริมขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ และเพิ่มความกินดีอยู่ดีของคนไทย เพื่อประเทศไทยที่เข้มแข็งและก้าวหน้าคนไทยกินดีอยู่ดีไทยมีบทบาทในเวทีโลก 1. ฟื้นฟูความเชื่อมั่นส่งเสริมภาพลักษณ์ไทย 5. รับมือกับประเด็นท้าทายใหม่ ๆ เป้าหมายของการต่างประเทศ

  7. ความสำเร็จในการดำเนินนโยบายต่างประเทศความสำเร็จในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ฟื้นฟูความเชื่อมั่น มีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศ

  8. ก้าวต่อไป ประเทศ เพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงในภูมิภาค การทูตเพื่อประชาชน นโยบายต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy (ตลาดใหม่/ Science Diplomacy)

  9. บูรณาการการทำงานในประเทศและกับประเทศเพื่อนบ้านบูรณาการการทำงานในประเทศและกับประเทศเพื่อนบ้าน รักษาความสัมพันธ์ที่ดีในระดับการเมือง/ มุ่งผลประโยชน์ ระยะยาว สร้างความสัมพันธ์ในระดับประชาชน ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ประเทศ เพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงในภูมิภาค การทูตเพื่อประชาชน นโยบาย ต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy

  10. บทบาทนำของไทยในภูมิภาคบทบาทนำของไทยในภูมิภาค เน้น software และ hardware เปิดด่าน gateway สู่ภูมิภาค เชื่อมโยงในทุกกรอบ ความเชื่อมโยงในภูมิภาค ประเทศ เพื่อนบ้าน การทูตเพื่อประชาชน นโยบาย ต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy

  11. ประเทศ เพื่อนบ้าน รักษาสมดุลในความสัมพันธ์กับมหาอำนาจ ความเชื่อมโยงในภูมิภาค การทูตเพื่อประชาชน นโยบาย ต่างประเทศ ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ บทบาทไทยในเวทีโลก Economic diplomacy Strategic role ของประเทศไทยในภูมิภาค

  12. เปิดสำนักงานใหม่ในตลาดใหม่ และประเทศที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ เช่น สอท. ณ กรุงทาชเคนต์ (พลังงาน) สกญ. ณ เมืองชิงต่าว (ตลาดในจีน) ยกระดับ สกญ. ณ กรุงอันตานานาริโว (มาดากัสการ์) เป็น สอท. ฯลฯ ผลักดัน FTA Thai-Africa Summit Energy security Food security 1 ทูต 3 ผลิตภัณฑ์ ประเทศ เพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงในภูมิภาค การทูตเพื่อประชาชน นโยบาย ต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy (ตลาดใหม่/ Science Diplomacy)

  13. Post-2015 development agenda ความมั่นคงของมนุษย์ Leadership ของประเทศไทย สิทธิมนุษยชน ภัยพิบัติ Think beyond Thailand ประเทศ เพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงในภูมิภาค การทูตเพื่อประชาชน นโยบาย ต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy

  14. การสมัครสมาชิกไม่ถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UNSC) วาระ ค.ศ. 2017-2018 เป็นสมาชิกครั้งล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1985-1986 (พ.ศ. 2528-2529) ประเทศคู่แข่ง: คาซัคสถาน เส้นทางสู่ UNSC 1. หาเสียง/ แลกเสียง 2. ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 3. เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. เพิ่มความเชื่อมั่นต่อประเทศไทย / ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การเมือง 2. นำเสนอวิสัยทัศน์ของไทยในเวทีโลก 3. ปกป้องผลประโยชน์ของไทยและภูมิภาคในกรณีมีเรื่องสำคัญเข้าสู่ UNSC

  15. ต่ออายุบัตรประจำตัวประชาชนในต่างประเทศเพิ่มเติม 16 แห่งภายในปี 2556 เปิดสำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ในต่างจังหวัดเพิ่มเติม การให้ความรู้ประชาชนก่อนเดินทาง ไปต่างประเทศ/ ป้องกันการตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ เสริมสร้าง ความเข้มแข็ง ของชุมชนไทย ในต่างประเทศ คุ้มครองดูแล คนไทย การทูตเพื่อประชาชน ประเทศ เพื่อนบ้าน ความเชื่อมโยงในภูมิภาค นโยบาย ต่างประเทศ บทบาทไทยในเวทีโลก ประเทศที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ Economic diplomacy

  16. ความท้าทาย การดำเนินงานที่ตอบสนองนโยบายภายในประเทศ/ ผลประโยชน์ประชาชน การตื่นตัวของคนไทยเรื่องการต่างประเทศ/ รัฐสภา/ ม. 190 การรักษา strategic environment ที่เกื้อกูลต่อความมั่นคง และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของไทย ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา/ คดีปราสาทพระวิหาร ยกระดับ profile ของประเทศ ทำงานอย่างมีบูรณาการ

  17. สำนักงานในต่างประเทศ

More Related